สืบค้นงานวิจัย
การเลี้ยงไหมซึ่งได้จากไข่ไหมแบบฟักทันที โดยเปรียบเทียบการเลี้ยงจากไข่ไหมซึ่งใช้ระยะการจุ่มกรดที่ต่างกัน
พรทิพย์ เพชรมนต์ - กรมหม่อนไหม
ชื่อเรื่อง: การเลี้ยงไหมซึ่งได้จากไข่ไหมแบบฟักทันที โดยเปรียบเทียบการเลี้ยงจากไข่ไหมซึ่งใช้ระยะการจุ่มกรดที่ต่างกัน
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: พรทิพย์ เพชรมนต์
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: จากผลการวิเคราะห์การเลี้ยงในรุ่นเดือนสิงหาคม และรุ่นเดือนตุลาคม เมื่อเลี้ยงไหมที่ได้จากการฟักเทียมแบบฟักทันที โดยใช้กรดเกลือ ถ.พ. 1.12 ที่ 15 °C อุณหภูมิ30 °C เวลา 10, 15, 20, 25 และ 30 นาที ตามลำดับ ผลที่ได้คือ จำนวนไหมเข้าจ่อ, จำนวนไหมทำรัง, จำนวนดักแด้สมบูรณ์, น้ำหนักรังสด, น้ำหนักรังนอก, เปอร์เซนต์เส้นใย ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2521
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2522
เอกสารแนบ: https://qsds.go.th/newosrd/wp-content/uploads/sites/115/2021/08/2522-22.pdf
เผยแพร่โดย: กรมหม่อนไหม
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การเลี้ยงไหมซึ่งได้จากไข่ไหมแบบฟักทันที โดยเปรียบเทียบการเลี้ยงจากไข่ไหมซึ่งใช้ระยะการจุ่มกรดที่ต่างกัน
กรมหม่อนไหม
2522
เอกสารแนบ 1
เอกสารแนบ 2
กรมหม่อนไหม
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างช่วงเวลาการเก็บไข่ไหม 5 °C และเวลาในการจุ่มกรดของไข่ไหมชนิด Reishin การศึกษาการให้หม่อนและจำนวนครั้งที่เลี้ยงต่างกันต่อจำนวนไข่ไหมที่วางต่อแม่ การเปรียบเทียบการฟักออกเป็นตัวของไข่ไหมชนิด Reshin โดยการใช้วิธีการเก็บรักษาที่ต่างกัน การเลี้ยงไหมเปรียบเทียบระหว่างไข่ไหมซึ่งได้จากการเก็บรักษาและการฟักเทียมที่ต่างกัน การศึกษาเปรียบเทียบระยะเวลาที่ใช้ในการจุ่มกรดเกลือที่มีอิทธิพลต่อการฟักของไข่ไหมแบบ SOKUSHIN ผลของการขนส่งไข่ไหมในเวลาต่างกันต่อการเลี้ยงและผลผลิตรังไหม ผลของการขนส่งไข่ไหมในเวลาต่างกันต่อเปอร์เซนต์การฟักออกเป็นตัว การศึกษาหาระยะเวลาการเจริญเติบโตของหนอนไหมและระยะที่เป็นดักแด้ของไหมพันธุ์ที่ใช้ผลิตไข่ไหมในศูนย์วิจัยและอบรมไหมนครราชสีมา การศึกษาเกี่ยวกับการวิวัฒนาการของตัวอ่อนในไข่ไหม การสำรวจปริมาณใบหม่อนที่ใช้กับพันธุ์ไหมซึ่งใช้ผลิตไข่ไหมในศูนย์วิจัยและอบรมไหมนครราชสีมา
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก