สืบค้นงานวิจัย
การศึกษาแนวทางการผลิตอาหารเลี้ยงปลาจากไส้เดือนดิน ด้วยภูมิปัญญาชาวบ้านตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง : กรณีศึกษา กลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงปลาเศรษฐกิจในกระชัง อำเภอเมือง จังหวัดนครพนม
บุษกร ปทุมไกยะ - มหาวิทยาลัยนครพนม
ชื่อเรื่อง: การศึกษาแนวทางการผลิตอาหารเลี้ยงปลาจากไส้เดือนดิน ด้วยภูมิปัญญาชาวบ้านตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง : กรณีศึกษา กลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงปลาเศรษฐกิจในกระชัง อำเภอเมือง จังหวัดนครพนม
ชื่อเรื่อง (EN): The Study of Fish Food Production from Earthworm with Local Wisdom Follow in Sufficiency Economy A Case Study of : The Fish Farming Agriculturist Group Muang District Nakhon Phanom Province
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: บุษกร ปทุมไกยะ
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาและรวมรวมภูมิปัญญาท้องถิ่นการเลี้ยงปลา ในกระชัง (2) เพื่อศึกษาและพัฒนากระบวนการเลี้ยงไส้เดือนดินแบบครบวงจร (3) เพื่อผลิต อาหารเลี้ยงปลาจากไส้เดือนดิน (41) เพื่อเปรียบเทียบอัตราการเจริญเติบโต อัตราการอยู่รอด อัตรา การเปลี่ยนอาหารเป็นเนื้อ และต้นทุนการผลิตของปลาเศรษฐกิจที่เลี้ยงด้วยสูตรอาหารที่ต่างกัน โดยใช้การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม และการวิจัยเชิงทคลอง การเลี้ยงไส้เดือนดิน เพื่อ เป็นวัดถุดิบในการเลี้ยงปลาคุกบิ๊กอุยทดแทน โปรตีนจากปลาปัน โดยทดลองเลี้ยงปลาคุกด้วยสูตร อาหารแตกด่างกัน ร สูตร สูตรที่ ! อาหารเม็ดสำเร็จรูป สูตรที่ 2 สูตรอาหารไส้เดือนทดแทนปลา ปน 100 เปอร์เซ็นต์ สูตรที่ 3 สูตรอาหารไส้เดือนทดแทนปลาปัน 50 เปอร์เซ็นต์ สูตรที่ 4 สูตร อาหารไส้เดือนทดแทนปลาปน 50 เปอร์เซ็นต์ สูตรที่ 5 สูตรอาหาร ไส้เดือนทดแทนปลาป่น 25 เปอร์เซ็นต์ โดยใช้แผนการทดลองแบบสุ่มในบล็อกสมบูรณ์ (Randomized Complete Block Design : RCBD) โดขแบ่งการทดลองออกเป็น 5 สิ่งทดลอง สิ่งทดลอง (Treatment) ละ 3 ซ้ำ ใช้ปลาคุกบิ๊กอุยจำนวน 3,000 ตัว แบ่งเลี้ยงในกระชัง จำนวน 15 กระชัง ๆ ละ 200 ระยะเวลาใน การทดลอง 12 สัปดาห์ ผลการศึกษาภูมิปัญญาการเลี้ยงปลาในกระชัง พบว่า การเลี้ยงปลาในกระชังเริ่มเข้า มาในชุมชนบ้านอาจสามารถ หลังจากที่มีการสร้างเขื่อน ประมาณ พ.ศ. 2538 ปลาที่นำมาเลี้ยง ได้แก่ ปลาเผาะหัวแข็ง ปลาเผาะปากกว้าง ปลาสาย ปลาปาก และ ปากคัง โดยจับจากแหล่งน้ำ ธรรมชาติ ด้วยการทอดแห่ ลากอวน ไหล่มอง ซึ่งจะปล่อยปลาทุกชนิดที่จับได้เลี้ยงอยู่กระชัง เดียวกันอาหารที่ใช้เลี้ยงปลาส่วนใหญ่เกษตรกรจะ ใช้อาหารที่เหลือจากการบริ โภคในครัวเรือน เช่น เศษอาหาร พืชผัก ผลไม้ ข้าวนึ่งสุก รำข้าว และ ปลายข้าว เลี้ยงปลาควบคู่กันไป การทดลองเลี้ยงไส้เดือนดิน พบว่า ไส้เดือนดินสีแดง (ขี้ตาแร่) ที่เลี้ยงในบ่อซีเมนต์ ในโรงเรือน สามารถเลี้ยง และ ขยายพันธ์ได้ แต่มีปริมาณไม่เพียงพอต่อการผลิตสูตรอาหารเลี้ยง ปลา 4 สูตร จึงนำไส้เดือนดินสีเทา ที่มีปริมาณมากในช่วงฤดูฝน และช่วงฤดูหนาว และไส้เดือน น้ำโขงที่มีปริมาณมากในช่วงน้ำลด เดือนตุลากม - เดือนพฤศจิกายนของทุกปีมาเป็นวัตถุดิบผลิต อาหารเลี้ยงปลา การศึกษาทดลองเลี้ยงปลาคุกบิ๊กอุยในกระชังด้วยสูตรอาหารที่ต่างกัน 5 สูดร พบว่า ปลาดุกบิ๊กอุยมีการเจริญเติบโตค้านน้ำหนักแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P0.05) โดย สูตรอาหารไส้เดือนทดแทนปลาปน 100 เปอร์เซ็นต์ ทำให้ปลาคุกบิ๊กอุยเจริญเติบโดมากที่สุด (170 กรัม) ส่วนการเจริญเติบโตค้านความยาวไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P>0.05) โดขสูตรอาหารไส้เดือนทดแทนปลาปน 100 เปอร์เซ็นต์ทำให้ปลาคุกบิ๊กอุยมีความยาวเฉลี่ยมาก ที่สุด ซึ่งปลาคุกบิ๊กอุยมีอัตราการเปลี่ยนอาหารเป็นเนื้อ และอัตราการอยู่รอดไม่แตกต่างกันอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติ (P:0.0) ในค้านต้นทุนค่าอาหาร และต้นทุนการผลิตปลาคุก มีค่าแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) โดยสูตรอาหารไส้เดือนดินทแทนปลาปน 100 เปอร์เซ็นต์ ทำ ให้ดันทุนค่าอาหาร และดันทุนการผลิตปลาดุกต่ำที่สุด (300.7 1, 782.15 บาทต่อกระชัง ตามลำดับ) โดยปลาคุกที่เลี้ยงคั่วยสูตรอาหารไส้เดือนทดแทนปลาปัน 100 เปอร์เซ็นต์ มีผลตอบแทนจากการ ลงทุนสูงที่สุด จึงสรุปว่าการเลี้ยงปลาคุกบิ๊กอุยในกระชังด้วยสูตรอาหารไส้เดือนทดแทน ปลาปัน 100 เปอร์เซ็นต์ มีความเหมาะสมที่สุด
บทคัดย่อ (EN): This research aims at studying (1) the context and basic information of goods transportation in Nakhon Phanom Province connecting with Laos and Vietnam along Route No. 12, (2) problems and barriers against transporting goods crossing Thailands border to Laos and Vietnam along Route No. 12 and Route No. 9, (3) industrial goods exporting and importing through Nakhon Phanom to Laos and Vietnam along Route No. 12 and comparing to Route No. 9 through Mukdaharn to Laos and Vietnam, and (4) potential of transportation of Nakhon Phanoms goods connecting with Laos and Vietnam along Route No. 12. The research used an exploratory research to study and analyse potential of network logistics management in Nakhon Phanom and Mukdaharn as a central of regional transportation. As a result of analyzing goods transportation data through Route No. 9, it was found that the goods which have the highest exporting value in 2007 were daily-used commodities, non- electric machine, and energy goods, respectively. While, the goods which have the highest importing value were non-electric machine (recall) and textile, respectively. The significant goods of cross-border trade out-bound to Laos were agricultural industry goods, beverage and energy drink, non-electric machine and assembly, vehicles and assembly, and electric appliances. The significant goods of cross-border trade in-bound from Laos were mining goods, wood, sawed timber, metals, textile, vehicle and assembly. The goods transported along Route No. 12 which have the highest exporting value in 2008 were energy goods, construction materials, and vehicle and assembly, respectively. The goods which have the highest importing value are non-electric machine and assembly, wood, sawed timber and products, and vehicles and assembly, respectively. Moreover, the significant goods of out-bound cross-border trade were agricultural industry goods, beverage and energy drink, non-electric machine and assembly, vehicle and assembly, and electric appliances and assembly. While, the significant goods of in-bound cross-border trade from Laos were mining goods, wood, sawed timber, metals, textile, vehicles and assembly. The transportation of goods between Thailand and Laos at Nakhon Phanom Province is operated by trucks through using car ferry crossing the Mekong River at Nakhon Phanom Customs House. Time of transportation can be calculated from the time for transporting goods at both out-bound and in-bound sides which has an origin of truck transport at Nakhon Phanom Customs House for checking documents until the truck is released at Laos Customs House. The whole processes spend about 95 minutes (1 hours 35 minutes) for exporting from Nakhon Phanom to Tha Kak and about 85 minutes (1 hours 25 minutes) for importing from Tha Kak to Nakhon Phanom. Cost of goods transportation between Thailand and Laos by only car ferries at Nakhon Phanom is totally 1,880 Baht per a 10-wheel truck. At the present, the transportation of goods between Thailand and Laos at Mukdaharn is operated by using truck and crossing the 2"" Mekong River Bridge (Mukdaharn-Suwannakhet) from Mukdahar Customs House which facilitates the transportation of goods at Mukdaharn become more convenient and faster than using the car ferry as in the past. Time of goods transportation can be calculated from the time for transporting goods at both out-bound and in- bound sides which have an origin at Mukdaharn Customs House until truck is released at Laos Customs House. The whole processes spend about 35 minutes for exporting from Mukdaharn to Savannakhet and 40 minutes for importing from Savannakhet. Cost of goods transportation between Thailand and Laos at Mukdaham is totally 500 Baht per a 10-wheel truck. It can be seen that the transportation through using the bridge can notably reduce the cost of transportation when compared to the old transport mode through using the car ferry which costs about 4,760 - 4,960 Baht per a 10-wheel truck. From comparing the ship transportation from Laem Chabang Port to Tokyo, Japan with the road transportation in the country connecting to neighbor countries along Route No. 12 or Route No. 9 and using ports in neighbor countries to ship to Tokyo, it can be concluded that the goods transportation by only ship is very cost effective. In term of transport time, the goods transportation by ship would be most delay about 1-2 days. If considering the time and cost of goods transportation, ship transportation is most efiective. For the transportation through Route No. 9 or Route No. 12, the time and cost of either route is quite the same. Therefore, it can be concluded that either Route No. 9 or Route No. 12 will be selected for transporting goods to Japan, it is similarly suitable.
วิธีการจ้างทำงานวิจัย: ได้รับทุนวิจัย
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2551-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2552-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยนครพนม
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การศึกษาแนวทางการผลิตอาหารเลี้ยงปลาจากไส้เดือนดิน ด้วยภูมิปัญญาชาวบ้านตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง : กรณีศึกษา กลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงปลาเศรษฐกิจในกระชัง อำเภอเมือง จังหวัดนครพนม
มหาวิทยาลัยนครพนม
30 กันยายน 2552
ชุดโครงการพัฒนาศักยภาพกลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงปลาเศรษฐกิจในกระชัง จังหวัดนครพนม เพื่อผลิตอาหารปลาเศรษฐกิจจากใส้เดือนดิน แบบครบวงจร ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การใช้ยีสต์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของอาหารในการเลี้ยงปลาชะโอนในกระชัง ทดแทนปลาป่นด้วยใบหม่อนป่นในสูตรอาหารปลาน้ำจืดเศรษฐกิจ ขั้นตอนการขึ้นทะเบียนเกษตกรผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ การผลิตอาหารปลาเศรษฐกิจโดยใช้ของเสียจากโรงงานแปรรูปไก่ โรงงานผลิตสุราโดยกระบวนการหมักด้วยเชื้อจุลินทรีย์ การเสริมอาหารธรรมชาติเพื่อเลี้ยงปลานิล การศึกษาภูมิปัญญาการเลี้ยงไก่พื้นเมืองในประเทศไทย การเลี้ยงปลาชะโอนในกระชังที่ความหนาแน่นแตกต่างกัน 2 ช่วงอายุ การอนุบาลลูกปลาสวายโมงในกระชังด้วยความหนาแน่นต่างกัน ปัจจัยที่มีผลต่อระดับความเข้มแข็งของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน เกษตรกรผู้เลี้ยงปลานิลในกระชัง อำเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี กรณีศึกษาวิสาหกิจชุมชนกลุ่มเกษตรกรประมงบ้านบางพต และวิสาหกิจชุมชนกลุ่มเกษตรกรประมง

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก