สืบค้นงานวิจัย
ชีววิทยากุ้งกุลาลาย (Penaeus semisulcatus De Haan, 1844) ทางฝั่งทะเลอันดามัน
ไภทูล ผิวขาว, อิสราภรณ์ จิตรหลัง, อัญชลีย์ ยะโกะ, ธรรมรงค์ อินทรสุวรรณ์, ธรรมรัตน์ เลิศเกียรติรัชตะ, พนิดา ชาลี - กรมประมง
ชื่อเรื่อง: ชีววิทยากุ้งกุลาลาย (Penaeus semisulcatus De Haan, 1844) ทางฝั่งทะเลอันดามัน
ชื่อเรื่อง (EN): Biology of Tiger Prawn (Penaeus semisulcatus De Haan, 1844) in the Andaman Sea.
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: ชีววิทยาของกุ?งกุลาลาย (Penaeus semisulcatus De Haan, 1844) ทางฝ??งทะเลอันดามัน ได?เก็บรวบรวมข?อมูลและตัวอย?างกุ?งกุลาลายวัยอ?อน โดยใช?เรือประมง 4 ลากถุงลากแพลงก?ตอนขนาดช?องตา 330 และ 1,000 ไมโครเมตร บริเวณชายฝ??งทะเลอันดามัน ตั้งแต?จังหวัดระนอง ถึงจังหวัดสตูล ในเดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 เดือนมกราคม มีนาคม และพฤษภาคม พ.ศ. 2554 และรวบรวมตัวอย?าง กุ?งกุลาลายที่จับได?จากเครื่องมืออวนลาก และเครื่องมือประมงพื้นบ?าน ตามท?าขึ้นปลาต?างๆ ในท?องที่ จังหวัดระนอง พังงา ภูเก็ต กระบี่ และสตูล ตั้งแต?เดือนมกราคม ถึงธันวาคม พ.ศ. 2554 พบกุ?งกุลาลายวัยอ?อน จากถุงลากแพลงก?ตอนขนาดช?องตา 330 ไมโครเมตร เฉลี่ย 1 ตัวต?อพื้นที่ 10 ตารางเมตร คิดเป?นร?อยละ 34.85 ของกุ?งวัยอ?อนสกุล Penaeus ทั้งหมด ชุกชุมมากที่สุดในเดือนมีนาคม แพร?กระจายหนาแน?นบริเวณ ทิศใต?ของ เกาะลันตาใหญ? ทิศตะวันตกของเกาะอาดัง และทิศใต?ของเกาะยาวใหญ? จากถุงลากแพลงก?ตอนขนาดช?องตา 1,000 ไมโครเมตร พบกุ?งกุลาลายวัยอ?อน เฉลี่ย 1 (0.75) ตัวต?อพื้นที่ 10 ตารางเมตร คิดเป?น ร?อยละ 55.34 ของกุ?งวัยอ?อนสกุล Penaeus ทั้งหมด ชุกชุมมากที่สุดในเดือนมีนาคม แพร?กระจายหนาแน?นบริเวณทิศใต?ของ เกาะลันตาใหญ? บริเวณระหว?างเกาะราชาใหญ?กับเกาะรอก ด?านทิศตะวันตกของอําเภอท?ายเหมือง และ ทิศตะวันตกของยาวใหญ? ชีววิทยาการสืบพันธุ?ของกุ?งกุลาลายซึ่งมีความยาวตลอดตัว 6.00-25.00 เซนติเมตร น้ําหนักตัว 1.89-145.00 กรัม และความยาวเปลือกหัว 1.26-6.13 เซนติเมตร มีความสัมพันธ?ระหว?างความยาวตลอดตัว กับน้ําหนักตัวอยู?ในรูปสมการ W = 0.0065TL3.1415 และความสัมพันธ?ระหว?างความยาวเปลือกหัวกับน้ําหนักตัว อยู?ในรูปสมการ W = 1.4969CL2.5584 ความสัมพันธ?ระหว?างความยาวเปลือกหัวกับความยาวตลอดตัวอยู?ใน รูปสมการ TL = 3.3636+3.9009CLอัตราส?วนระหว?างเพศผู?ต?อเพศเมียมีค?าเท?ากับ 1:1.09 ซึ่งมีความแตกต?างกัน อย?างมีนัยสําคัญทางสถิติ (P<0.05) ความยาวเฉลี่ยขนาดแรกสืบพันธุ? (L50) ของกุ?งกุลาลายเพศเมียเท?ากับ 18.30 เซนติเมตร มีการวางไข?ได?ตลอดป? วางไข?สูงในเดือนมกราคม และพฤศจิกายน มีแหล?งวางไข?บริเวณ ด?านทิศใต?ของเกาะลันตาใหญ? บริเวณระหว?างเกาะราชาใหญ?กับเกาะรอก และทิศใต?ของเกาะตะลิบง
บทคัดย่อ (EN): Reproductive biology of green tiger prawn, (Penaeus semisulcatus De Haan, 1844) along the Andaman Sea Coast of Thailand was studied by collecting juvenile samples using the Research Vessel, RV Pramong 4. The operated plankton net were 330 and 1,000 ?m mesh sizes. The sampling areas were the Andaman Sea Coast that covered from Ranong to Satun Provinces. The sampling period were in November of 2010 and in January, March and May of 2011. Apart from the juvenile green tiger prawn samples from RV Pramong 4, the green tiger prawns were also collected from commercial trawling and small scale fishing gears which operated in Ranong Phangnga, Phuket, Krabi and Satun provinces during January to December, 2011. From 330 ?m mesh size plankton net, the average of post larvae number was 1 per 10 m2 and it was 34.85% of the total Penaeus post larvae. The most abundance was in March and the most distribution was in the south of Lanta Yai Island, west of Adang Island and the south of Koh Yao Yai. From 1,000 ?m mesh size plankton net, the average of post larvae number was 1 (0.75) per 10 m2 and it was 55.34% of the total Penaeus post larvae. The most abundance was in March and the most distribution was in the south of Lanta Yai Island, the area between Racha Yai Island and Rok Island, in fron of the Taimaung District and the west of Koh Yao Yai. The reproductive biology of 6.00-25.00 cm total lengths and 1.89-145.00 g green tiger prawns showed the total length (TL) and body weight (W) relationship was in the form of W = 0.0065TL3.1415 equation. The carapace length (CL) and body weight (W) relationship was in the form of W = 1.4969CL2.5584 equation. The carapace length (CL) and total length (TL) relationship was in the form of TL = 3.3636+3.9009CL equation. Sex ratio of male and female was 1:1.09 which was significantly different (P<0.05). The average sizes at first maturity of female (L50) was 18.30 cm. The green tiger prawns spawned all year round and highly spawning periods were in January and November. The spawning ground were in the south of Lanta Yai Island, the area between Racha Yai Isalnd and Koh Rok and the south of Talibong Island.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2553-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2555-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: กรมประมง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ชีววิทยากุ้งกุลาลาย (Penaeus semisulcatus De Haan, 1844) ทางฝั่งทะเลอันดามัน
กรมประมง
30 กันยายน 2555
กรมประมง
ชีววิทยาบางประการของหมึกหอม (Sepioteuthis lessoniana Lesson) ทางฝั่งทะเลอันดามัน ความหลากหลายและชีววิทยาบางประการของกุ้งตะกาด Metapenaeus spp. ในฝั่งอันดามัน จังหวัดตรัง การประเมินสภาวะทรัพยากรกุ้งโอคักทางฝั่งทะเลอันดามันของประเทศไทย ทรัพยากรกั้งตั๊กแตนทางฝั่งทะเลอันดามันของประเทศไทย สภาวะทรัพยากรสัตว์น้ำในเขตชายฝั่ง 10 ไมล์ทะเลบริเวณ ฝั่งทะเลอันดามัน ชีววิทยาการสืบพันธุ์ของปลาสีกุนตาโต (Selar crumenophthalmus (Bloch, 1793)) ทางฝั่งทะเลอันดามันของประเทศไทย กั้งตั๊กแตนจากการประมงพื้นบ้านทางฝั่งทะเลอันดามันของประเทศไทย ชีววิทยาการสืบพันธุ์ของปลาโอดำ (Thunnus tonggol (Bleeker, 1851)) ที่พบทางฝั่งทะเลอันดามันของประเทศไทย พ.ศ. 2555 สภาวะทรัพยากรและการประมงปลาโอทางฝั่งทะเลอันดามันของประเทศไทย ทรัพยากรสัตว์ทะเลจากเรือสำรวจประมงในเขตมาตรการอนุรักษ์สัตว์น้ำทางฝั่งทะเลอันดามัน

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก