สืบค้นงานวิจัย
ประสิทธิภาพการป้องกันในไก่ของเชื้อไวรัสหลอดลมอักเสบติดต่อสายพันธุ์ QX ที่ทำให้เชื้อลดความรุนแรงด้วยความร้อน
ธวัชชัย โพธิ์เฮือง - มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ชื่อเรื่อง: ประสิทธิภาพการป้องกันในไก่ของเชื้อไวรัสหลอดลมอักเสบติดต่อสายพันธุ์ QX ที่ทำให้เชื้อลดความรุนแรงด้วยความร้อน
ชื่อเรื่อง (EN): The protective efficacy of heat treatment attenuated QX strain, infectious bronchitis virus
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: ธวัชชัย โพธิ์เฮือง
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Tawatchai Pohuang
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย: กัลยา เจือจันทร์
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย (EN): Kanlaya Chuachan
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: วัตถุประสงค์ของโครงการวิจัยเพื่อพัฒนาวัคซีนป้องกันโรคหลอดลมอักเสบติดต่อเชื้อเป็นสาย พันธุ์ QX ที่แยกได้ในประเทศไทยด้วยวิธีการบ่มเชื้อด้วยดวามร้น นำเชื้อไวรัสหลอดลมอักเสบติดต่อ สายพันธุ์ QX ที่แยกได้ในประเทศไทยจำนวน 1 สายพันธุ์มาบ่มที่อุณหภูมิ 56 องศาเซลเซียสโดย ระยะเวลาสิ้นสุดการบ่มคือ 60 นาที เมื่อเวลากา รบ่มผ่านไปทุกๆ 5 นาทีเชื้อไวรัสที่ถูกบ่มแล้วจะนำไป ฉีดเข้าไข่ฟักอายุ 10 วัน เมื่อไข่ฟักอยู่ในตู้ฟักดรบ : วัน จะทำการเก็บน้ำไข่ฟักจากฟองที่ฉีดด้วยเชื้อซึ่ง ใช้ระยะเวลานานที่สุดแต่เชื้อยังคงทำให้ตัวอ่อนในไข่ไก่ฟ้ก คระแกร็นมาผ่านการทำขั้นตอนดังกล่าว ซ้ำๆ จำนวน 8 ครั้ง เชื้อไวรัสที่ผ่านกระบวนการบ่มเชื้อจำนวน 8 ครั้งจะถูกนำมาตรวจการเปลี่ยนแปลง ทางพันธุกรรมในยีน S1 และ N ทดสอบความรุนแรงในการก่อโรคในไก่ และทดสอบความสามารถใน การป้องกันโรคในไก่ ผลการทดลองพบว่าระยะเวลาน นานที่สุดในการบ่มเชื้อที่เชื้อยังคงทำให้ตัวอ่อนในไข่ ไก่ฟักแคระแกร็นมีความแตกต่างกันในแต่ละครั้ ารบ่มเชื้อ ซึ่งระยะเวลาน้อยที่สุดที่ใช้คือ 30 นาที และระยะเวลานานที่สุดที่ใช้คือ 60 นาทีเชื้อที่ผ่าน การบ่มที่อุณหภูมิ 56 องศาเซลเซียสทำให้ไก่แสดง อาการของระบบทางเดินหายใจ น้ำหนักตัวไก่ไม่แตกต่างจากน้ำหนักตัวไก่ที่ได้รับเชื้อก่อโรคตั้งตันก่อน การบ่มเชื้อ (p>0.05) แต่มีน้ำหนักเฉลี่ยน้อยกว่ากลุ่มควบคุมที่ไม่ได้รับเชื้ออย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p0.05) กับ กลุ่มควบคุมที่ไม่ได้รับเชื้อ รอยโรคทางจุลพยาธิวิทยาที่ท่อลมต่ำกว่ากลุ่มที่ควบคุมที่ไม่ได้รับวัคซีนอย่าง มีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) รอยโรดทางจุลพยาธิวิทยาที่ใตต่ำกว่ากลุ่มที่ควบคุมที่ไม่ได้รับวัคซึนและ กลุ่มที่ได้รับวัดซีนลายพันธุ์ H120 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) การตรวจพบเชื้อก่อโรคที่ท่อลม ต่ำกว่ากลุ่มที่ควบคุมที่ไม่ได้รับวัคซีนและกลุ่มที่ได้รับวัซีนสายพันธุ์ 120 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) และค่าการทำงานของซิเลียและการป้องกันโรคดีกว่ากลุ่มที่ควบคุมที่ไม่ได้รับวัคซีนและกลุ่มที่ ได้รับวัดซีนลายพันธุ์ H120 ผลการวิจัยครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าวิธีการบ่มเชื้อ ณ อุณหภูมิ 56 องศา เซลเซียสมีผลต่อความรุนแรงของเชื้อไวรัสหลอดลมอักเสบติดต่อสายพันธุ์ QX ที่แยกได้ในประเทศไทย ในการก่อโรคในไข่ฟักแต่ไม่สามารถลดความรุนแรงในการก่อโรคของเชื้อในไก่ได้อย่างสมบูรณ์รวมทั้งไม่ ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมในยืน S1 และ N และไก่ที่ได้รับเชื้อที่ผ่านการบ่มมีรอยโรค น้อยที่สุดเมื่อประเมินภายหลังจากการได้รับเชื้อก่อโรคตั้งตัน
บทคัดย่อ (EN): The objective of this study was to develop vaccine against QX-like infectious bronchitis virus (IBV) isolated in Thailand by using heat-treatment method. One isolate of QX-like IBV was selected and incubated at 56C. The virus was removed every 5 min for 60 min and inoculated into allantoic cavity of 10 days old embryonated chicken eggs. The embryos were examined for IBV lesions, stunting embryos at 6 days post inoculation. Allantoic fluid from the longest heat treatment time that caused lesions was harvested and used for subsequent passages. The procedure was repeated eight times. After that, the heat-treated virus was characterized by S1 and N gene sequencing, virulence in chickens and protection efficacy in chickens. The results of this study showed that the longest heat-treatment time at 56 C that induced lesions in the embryos varied from 30 to 60 min. Some of the chickens which received a heat-treated IBV showed a clinical sign of respiratory disease. The body weight of chicken which received a heat-treated IBV was not significantly different (p>0.05) from positive control group but it was difference (p0.05) from the chickens in negative control group. The histopathological lesion in trachea was lower than those of positive control group (p<0.05). The histopathological lesion in kidney and virus detection in trachea were lower than those of positive control group and the group of H120 vaccine (p<0.05). The results of ciliary activity and protection rate were higher than those of positive control group and the group of H120 vaccine. This study suggests that a rapid heat-treatment method had an effect to infectivity of Thai QX- like IBV in embryonated chicken eggs. A method cannot provide a complete attenuation and it has no effect on S1 and N gene of Thai QX-like IBV. The chickens received heat-treated QX- like IBV have the lowest of lesion after challenge with pathogenic QX-like IBV.
ชื่อแหล่งทุน: เงินงบประมาณแผ่นดิน
จำนวนเงินตามสัญญารับงานวิจัย: 237,500.00
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2555
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2556
ปีที่ได้รับงบประมาณ (ระบุได้มากกว่า 1 ปี): 2556
ประเภทชิ้นงาน: การวิจัยพื้นฐาน
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยขอนแก่น
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ประสิทธิภาพการป้องกันในไก่ของเชื้อไวรัสหลอดลมอักเสบติดต่อสายพันธุ์ QX ที่ทำให้เชื้อลดความรุนแรงด้วยความร้อน
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
2556
การศึกษาคุณสมบัติและความรุนแรงของเชื้อไวรัสโลหิตจางติดต่อในไก่ในไก่เนื้อ อิทธิพลของสายพันธุ์และฤดูกาลที่มีผลต่อประสิทธิภาพการฟักออกของไก่ 5 สายพันธุ์ การพัฒนาวิธี ELISA และการยับยั้งการตกตะกอนกับเม็ดเลือดแดงสำหรับตรวจสอบแอนติบอดีต่อเชื้อไวรัสหลอดลมอักเสบติดต่อ การลดเชื้อ Campylobacter jejuni/coli ในไก่ด้วยระบบโอโซน ศึกษาสภาวะการติดเชื้อ Brachyspira ในไก่ การจำแนกสายพันธุ์และความต้านทานต่อโรค Streptococcosis ของปลานิล (Oreochromis niloticus Linnaeus) เชื้อก่อโรคกับข้าวมันไก่ การผลิตข้าวโพดดัดแปลงโปรตีนสูงด้วยเชื้อจุลินทรีย์ที่มีประสิทธิภาพเพื่อใช้เป็นวัตถุดิบโปรตีนในอาหารไก่เนื้อและไก่ไข่ การกระจายตัวและความไวของกระบวนการแปรรูปไก่ต่อการปนเปื้อนเชื้อ L. monocytogenes ที่วิเคราะห์ด้วยอาหารเลี้ยงเชื้อมาตรฐาน ALOA และ P76GXP ที่พัฒนาขึ้น การศึกษาเพื่อหาแอนติเจนเพื่อการพัฒนาวัคซีนป้องกันการติเชื้อ Campyrobactor jejuni ในไก่โดยการใช้เทคนิค immunoproteomics
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก