สืบค้นงานวิจัย
ประสิทธิภาพของไส้เดือน Pheretima peguana และ Eudrilus eugeniae ในการย่อยสลายมูลฝอยอินทรีย์
เจริญธรรม สะอาดเอี่ยม - มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ชื่อเรื่อง: ประสิทธิภาพของไส้เดือน Pheretima peguana และ Eudrilus eugeniae ในการย่อยสลายมูลฝอยอินทรีย์
ชื่อเรื่อง (EN): Efficiency of earthworm Pheretima peguana and Eudrilus eugeniae to decompose organic waste
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: เจริญธรรม สะอาดเอี่ยม
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Charoenthum Saardaem
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย (EN):
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: เพื่อศึกษาอัตราส่วนที่เหมาะสมของไส้เดือนทั้ง 2 สายพันธุ์ (Pheretimapeguana,Eudrilus eugeniae) ต่อการย่อยสลายมูลฝอยอินทรีย์ และเพื่อเปรียบเทียบปริมาณธาตุอาหารหลัก (N, P และ K) ใช้ 4 อัตราส่วน ดังนี้ (ไส้เดือน: มูลฝอยอินทรีย์) 1:20, 1:15, 1:10 และ1:5 ผลการทดลองพบว่า ประสิทธิภาพการย่อยสลายมูลฝอยอินทรีย์ ที่ดีที่สุดคือ อัตราส่วน1:5 ของทั้ง 2 สายพันธุ์ ค่าเฉลี่ยการลดลงของน้ำหนักของมูลฝอยอินทรีย์ โดยไส้เดือน 2 สายพันธุ์ ไม่แตกต่างกัน ส่วนอัตราส่วน มีค่าเฉลี่ยการลดลงของน้ำหนักของมูลฝอยอินทรีย์มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ไม่พบปฏิสัมพันธ์ระหว่างสายพันธุ์กับอัตราส่วน ส่วนค่าเฉลี่ยการเปลี่ยนแปลงของน้ำหนักไส้เดือนและน้ำหนักปุ๋ยมูลไส้เดือนของทั้ง 2 สายพันธุ์, อัตราส่วน พบว่าไม่แตกต่างกันและไม่พบปฏิสัมพันธ์ระหว่างสายพันธุ์กับอัตราส่วน ส่วนปริมาณธาตุอาหารไนโตรเจน,ฟอสฟอรัสและโปตัสเซียม ทั้งก่อน และหลังการทดลอง ไม่มีความแตกต่างกัน
บทคัดย่อ (EN): The study aimed to examine the appropriate ratio of two earthworm species (Pheretima peguana, Eudrilus eugeniae)to decompose the organic waste and to compare the amount of major plant nutrients (N,P and K) in the cast of two earthworm species. The appropriate ratio of two earthworm species in the following ratio (earthworm: organic waste) 1:20, 1:15, 1:10 and 1:5. The result showed that the fastest time of two earthworm species to decompose the organic waste were ratio 1:5 ,and there were not significantly difference in two earthworm species. The reduction of organic waste weight in ratio of 1:20, 1:15, 1:10 and 1:5 was significant difference (p<0.05) but interaction between type and ratio was not observed. Changes in earthworm weight and vermicomposting of both species were not significantly different and showed no interaction and N, P and K contents, before and after decomposition were not significantly different.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2553
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2554
เอกสารแนบ: https://ag2.kku.ac.th/kaj/PDF.cfm?filename=261.pdf&id=483&keeptrack=14
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ประสิทธิภาพของไส้เดือน Pheretima peguana และ Eudrilus eugeniae ในการย่อยสลายมูลฝอยอินทรีย์
ไม่ระบุผู้เผยแพร่
2554
เอกสารแนบ 1
เอกสารแนบ 2
เทคนิคการเพิ่มอัตราการย่อยสลายทางชีวภาพของสารพิษตกค้างในดินเพื่อลดระยะเวลาการ ปรับเปลี่ยนสู่ระบบเกษตรอินทรีย์โดยการใช้ปุ๋ยหมักมูลไส้เดือนดินและน้ำหมักมูลไส้เดือนดิน การถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตปุ๋ยมูลไส้เดือนคุณภาพสูงโดยการใช้ ไส้เดือนแปรสภาพขยะอินทรีย์ในจังหวัดเพชรบูรณ์ ประสิทธิภาพการย่อยวัตถุดิบอาหารต่างชนิดกันของปลาช่อนทะเล(Rachycentron canadum Linnaeus,1766) ผลของการใช้ขยะอินทรีย์ที่ได้จากการย่อยสลายของไส้เดือนดินในระบบการผลิตพืชผักปลอดสารพิษในพื้นที่จังหวัดราชบุรี ประสิทธิภาพการย่อยสลายหินฟอสเฟตด้วยจุลินทรีย์ในสารเร่ง พด.9 การพัฒนาผลิตภัณฑ์จุลินทรีย์ย่อยสลายสารพิษตกค้าง ประสิทธิภาพการย่อยโปรตีนจากแหล่งต่างๆกันของปลาดุกทะเล การย่อยสลายทางชีวภาพของมาลาไคท์กรีนโดยแบคทีเรียจากแหล่งน้ำ ความหลากหลายของเชื้อราที่ย่อยสลายซากทางใบปาล์มน้ำมัน การพัฒนาระบบการผลิตผักสวนครัวอินทรีย์ด้วยปุ๋ยมูลไส้เดือนคุณภาพสูงในจังหวัดเพชรบูรณ์

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก