สืบค้นงานวิจัย
การใช้โปรตีนไฮโดรไลเสตจากเศษทิ้งกุ้งเป็นแหล่งโปรตีนเพื่อทดแทนปลาป่นในอาหารปลากะพงขาว (Lates calcarifer Bloch, 1790) สำเร็จรูป
จีรรัตน์ แก้วประจุ, พิเชต พลายเพชร, เพ็ญศรี เมืองเยาว์, มยุรา ประยุรพันธ์, สุพิศ ทองรอด, จีรรัตน์ แก้วประจุ, พิเชต พลายเพชร, เพ็ญศรี เมืองเยาว์, มยุรา ประยุรพันธ์, สุพิศ ทองรอด - กรมประมง
ชื่อเรื่อง: การใช้โปรตีนไฮโดรไลเสตจากเศษทิ้งกุ้งเป็นแหล่งโปรตีนเพื่อทดแทนปลาป่นในอาหารปลากะพงขาว (Lates calcarifer Bloch, 1790) สำเร็จรูป
ชื่อเรื่อง (EN): Protein Hydrolysate from Shrimp Waste as Protein Source for Fishmeal Replacement in Formulated Feed for Asian Seabass (Lates calcarifer Bloch, 1790)
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: การใช้โปรตีนไฮโดรไลเสตจากเศษทิ งก้งเป็ นแหล่งโปรตีนเพื!อทดแทนปลาป่ น ุ ในอาหารปลากะพงขาว (Lates calcarifer Bloch, 1790) สําเร็จรูป จีรรัตน์ เกื อแก้ว๑ * เพ็ญศรี เมืองเยาว์๒ พิเชต พลายเพชร๑ มยุรา ประยูรพันธ์๑ และ สุพิศ ทองรอด๓ สถาบันวิจัยอาหารสัตว์นํ5าชายฝั=ง ๑ สถาบันวิจัยการเพาะเลี5ยงสัตว์นํ5าชายฝั=ง ๒ บริษัทไทยยูเนียน ฟี ดมิลล์ จํากดั ๓ บทคัดย่อ ผลิตโปรตีนไฮโดรไลเสตจากการหมักเศษทิ5งกุงด้วยจุลินทรีย์ ้ Lactobacillus plantarum สาย พันธุ์ 541 เพื=อใช้เป็ นแหล่งโปรตีนสําหรับทดแทนปลาป่ นในอาหารปลากะพงขาวที=ระดับ 0, 10, 20 และ 30% ให้เป็ นชุดการทดลองที= 1 (ชุดควบคุม), 2, 3 และ 4 ตามลําดับ สําหรับใช้เลี5ยงปลากะพงขาวนํ5าหนัก เริ=มต้นเฉลี=ย 1.013? 0.002 กรัม ในถังไฟเบอร์ขนาด 100 ลิตร จํานวน 16 ถัง โดยเลี5ยงปลาจํานวน 20 ตัวต่อ ถังในระบบนํ5าหมุนเวียนกึ=งปิ ด เป็ นเวลา 10 สัปดาห์ โดยแต่ละชุดการทดลองมีจํานวน 4 ซํ5า เมื=อสิ5นสุดการ ทดลองพบวาปลากะพงขาวที=เลี ่ 5ยงด้วยอาหารสูตรที= 2 (10%) มีนํ5าหนักเฉลี=ย (34.23?1.90 กรัม) นํ5าหนักที= เพิ=มขึ5น (3,275.40?185.22%) การเจริญเติบโตเฉลี=ยต่อวัน (0.52?0.03 กรัม/วัน) และอัตราการเจริญเติบโต จําเพาะ (5.15?0.09 %/วัน) แตกต่างอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (P0.05) กบชุดการทดลองที= 4 (30%) ในขณะ ั ที=อัตราการรอดตาย และอัตราการเปลี=ยนอาหารเป็ นเนื5อ (FCR) พบว่าแตกต่างอย่างไม่มีนัยสําคัญทางสถิติ (P>0.05) ระหว่างชุดการทดลอง เมื=อประเมินคุณสมบัติการใช้เป็ นแหล่งโปรตีนของโปรตีนไฮโดรไลเสต โดยศึกษาจากค่าประสิทธิภาพการยอยโปรตีน (%) ประสิทธิภาพการใช้โปรตีน (PER) และการใช ่ ้ประโยชน์ จากโปรตีนสุทธิ (%ANPU) พบวาแตกต ่ ่างอยางไม ่ ่มีนัยสําคัญทางสถิติ (P>0.05) ในระหวางชุดการทดลอง ่ ผลจากการศึกษาครั5งนี5แสดงให้เห็นวาการแทนที=ปลาป่ นด้วย 30% โปรตีนไฮโดรไลเสตจากเศษทิ ่ 5งกุงเป็ น ้ ระดับที=ยอมรับได้ในการส่งเสริมการเจริญเติบโต อัตราการรอดตาย และประสิทธิภาพการใช้โปรตีน อยางไร ่ ก็ตามควรศึกษาเพิ=มเติมถึงความเป็ นไปได้ในระดับการแทนที=ที=สูงกวา 30% เพื=อลดปริมาณการใช้ปลาป่ น ่ คําสําคัญ : โปรตีนไฮโดรไลเสต เศษทิ5งกุง ปลากะพงขาว อาหารสําเร็จรูป ้ *ผู้รับผิดชอบ : สถาบันวิจัยอาหารสัตว์นํ5าชายฝั=ง ๔๑/๑๔ หมู่ ๙ ตําบลบางพระ อําเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี ๒o๑๑o โทรศัพท์/โทรสาร o-๓๘๓๒-๖๕๑๒ E-mail : jiraratku@yahoo.com
บทคัดย่อ (EN): Protein Hydrolysate from Shrimp Waste as Protein Source for Fishmeal Replacement in Formulated Feed for Asian Seabass (Lates calcarifer Bloch, 1790) Jeerarat Kuakaew1 * Pensri Muangyao2 Pichet Plaipetch1 Mayura Prayunpun1 and Supis Thongrod3 Coastal Aquatic Feed Research Institute1 Coastal Aquaculture Research Institute2 Thai Union Feed Mill Company Limited3 Protein hydrolysate produced from shrimp waste fermentation with Lactobacillus plantarum strain 541 was used as protein source for fishmeal replacement in asian seabass (Lates calcarifer Bloch, 1790) diet at level 0, 10, 20 and 30% for the treatment no. 1 (control), 2, 3 and 4, respectively. Initial average weight of fish fingerlings 1.013? 0.002 g were fed in 100 L of 16 fiber tanks (20 animals per tank) and done in four replicates of semi-closed water recycle system. After an 10 week experimental period, fish fed the diet in treatment no. 2 (10%) showed final average weight (34.23?1.90 g), weight gain (3,275.40?185.22%), average daily growth (0.52?0.03 g/day) and specific growth rate (5.15?0.09 %/day) which were statistically significant difference (P0.05) with treatment no. 4 (30%). Survival rate and feed conversion ratio (FCR) were not statistically significant difference (P>0.05) among the treatment. The property assessment of protein hydrolysate found that the values of protein digestibility (%), protein efficiency ratio (PER) and apparent net protein utilization (%ANPU) were not statistically significant difference (P>0.05) among the treatment. Thus, the acceptable fishmeal replacement with protein hydrolysate from shrimp waste showed at 30%, since it could be promote important of growth, the survival rate and protein utilization. However, from this experiment should be study more for possibility of fishmeal replacement than 30% for decrease using fishmeal. Key words : Protein hydrolysate, shrimp waste, asian seabass, formulated feed *Corresponding author : Coastal Aquatic Feed Research Institute 41/14 Moo 9, Bangphra Sub-district, Sriracha District, Chonburi Province 20110 Tel./Fax. 0-3832-6512 E-mail : jiraratku@yahoo.com
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2551-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2553-03-31
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: กรมประมง
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การใช้โปรตีนไฮโดรไลเสตจากเศษทิ้งกุ้งเป็นแหล่งโปรตีนเพื่อทดแทนปลาป่นในอาหารปลากะพงขาว (Lates calcarifer Bloch, 1790) สำเร็จรูป
กรมประมง
31 มีนาคม 2553
กรมประมง
ผลการเสริมโปรตีนไฮโดรไลเสตจากเศษทิ้งกุ้งในอาหารสำเร็จรูปต่อการเจริญเติบโตของปลากะพงขาว (Lates calcarifer Bloch, 1790) การใช้โปรตีนไฮโดรไลเสตจากเศษทิ้งกุ้งเป็นแหล่งโปรตีนเพื่อทดแทนปลาป่นในอาหารสำเร็จรูปของกุ้งขาว Litopenaeus vannamei (Boone, 1931) การใช้โปรตีนไฮโดรไลเสตที่ได้จากเศษเครื่องในปลานิลเพื่อทดแทนการใช้ปลาป่นในอาหารปลาดุกลูกผสม การใช้โปรตีนไฮโดรไลเสตที่ได้จากเศษเครื่องในปลานิลเพื่อทดแทนการใช้ปลาป่นในอาหารปลาดุกลูกผสม การใช้อาหารสำเร็จรูปขนาดเล็กแบบ Microbound สำหรับการอนุบาลลูกปลากะพงขาว (Lates calcarifer Bloch, 1790) การใช้โปรตีนเข้มข้นทดแทนปลาป่นในอาหารสำหรับปลากะพงขาว (Lates calcarifer) การใช้โปรตีนจากกากถั่วเหลืองทดแทนโปรตีนจากปลาป่นในอาหารเลี้ยงปลาเทโพ ผลของความถี่การให้อาหารสำเร็จรูปต่อการเจริญเติบโตของปลากะพงขาว, Lates calcarifer (BLOCH) ที่เลี้ยงในกระชังให้ได้ขนาดตลาด การแทนที่ปลาป่นด้วยแพลงก์ตอนสัตว์ในอาหารปลากะพงขาว (Lates calcarifer Bloch, 1790) การใช้ตะกอนน้ำนึ่งปลาทูน่าเป็นสารดึงดูดการกินอาหารที่ใช้พืชเป็นแหล่งโปรตีนหลัก สำหรับเลี้ยงปลากะพงขาว (Lates calcarifer Bloch, 1790) และกุ้งขาว (Litopenaeus vannamei Boone, 1931)

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก