สืบค้นงานวิจัย
บทบาทของ HtrA2 serine protease ต่อการติดเชื้อไวรัสตัวแดงดวงขาวในกุ้ง (ระยะที่ 2)
ไตรวิทย์ รัตนโรจน์พงศ์ - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ชื่อเรื่อง: บทบาทของ HtrA2 serine protease ต่อการติดเชื้อไวรัสตัวแดงดวงขาวในกุ้ง (ระยะที่ 2)
ชื่อเรื่อง (EN): The role of HtrA2 serine protease on white spot syndrome virus infection in shrimp (phase 2)
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: ไตรวิทย์ รัตนโรจน์พงศ์
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): TRIWIT RATTANAROJPONG
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย (EN):
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: HtrA2 เป็นโปรตีนที่กระตุ้นกระบวนการตายของเซลล์แบบ apoptosis โดยขัดชวางการทำงานของ โปรตีน AP ไม่ให้รวมตัวกับโปรตีน caspase ซึ่งส่งผลให้โปรตีน caspase สามารถทำงานได้และเหนี่ยงนำให้ เกิดกระบวนการ apoptosis ของเซลล์ ในงนวิจัยนี้มีจุดประสงค์ในการวิเคราะห์หายืน HtA2 ของกุ้ง กุลาดำและกุ้งขาวรวมทั้งศึกษาบทบาทของยืนนี้ในกระบวนการ apoptosis ของกุ้งและบทบาทของยีนนี้ต่อ การติดเชื้อไวรัสตัวแดงตวงขาวในกุ้ง จากการศึกษาพบว่ายีน HtA2 ของกุ้งกุลาดำ (PmHtrA2) มีขนาด 1338 bp สามารถแปลรหัสออกมาเป็นโปรตีนที่ประกอบด้วยกรตอะมิโน 446 ตัว ส่วนยืน HtrA2 ของกุ้งขาว (PVHtTA2) มีขนาด 1,335 bp และสามารถแปลรหัสเป็นเป็นโปรตีนที่ประกอบด้วยกรดอะมิโน 445 ตัว โปรตีน HtrA2 มีค่น้ำหนักประมาณ 47 kDa และมีค่า p! ประมาณ 9.3 เมื่อทำการวิเคราะห์โครงสร้างของ โปรตีน HtA2 ของกุ้งทั้งสองชนิตพบว่าประกอบต้วยโตเมนที่ถูกอนุรักษ์ไว้ 5 ส่วนได้แก่ mitochondrial targeting signal (MTS), transmembrane (TM) domain, IAP-binding motif (IBM), serine protease domain และ PDZ domain ซึ่งเป็นโตเมนที่พบใน HtrA2 ของสิ่งมีชีวิตอื่นๆและทีความแตกต่งจากกลุ่มของ serine protease ที่เคยค้นพบก่อนหน้านี้ในกุ้ง PmHtrA2 และ PVHtrA2 มีลำตับนิวคลิโอไทต์คล้ายคลึงกัน 87% และเมื่อวิเคราะห์ phylogenetic tree ที่สร้างมาจากยีน HtrA2 พบว่า HtrA2 ของกุ้งจัดอยู่ในกลุ่ม เดียวกับ HtA2 ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง HtA2 นอกจากนี้ยังพบว่ายืน HtA2 มีการแสดงออกในระดับ transcription ในเนื้อเยื่อต่างๆของกุ้งได้แก่ เหงือก, หัวโจ, hematopoietic tissues, เม็ดเลือดขาว, ตับอ่อน, lymphoid organ, ลำไส้, กล้ามเนื้อ, ขาว่ายน้ำและกระเพาะอาหารของกุ้ง เมื่อใช้ polyclonal antibody ที่ จำเพาะกับ HtA2 ของกุ้งพบว่าสามารถตรวจสอบการแสตงออกชองโปรตีน HtrA2 ไต้ในกล้ามเนื้อและเหงือก ของกุ้งด้วย เมื่อศึกษาระดับการแสดงออกของ HtA2 ในกุ้งที่ติดเชื้อไวรัสตัวแดงตวงขาวพบว่า HtA2 มีการ แสดงออกเพิ่มขึ้นทั้งในระดับ transcription และ translation ที่ชั่วโมงที่ 8 หลังการติดเชื้อเทียบกับกลุ่ม ควบคุมและยังพบว่ากุ้งที่ได้รับ dsRNA ที่จำเพาะกับ HtA2 มีอัตราการตายของกุ้งที่ติดเชื้อไวรัสตัวแดงดวง ขาวเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับกลุ่มควบคุม เมื่อทำการวิเคราะห์ปฏิสัมพันธ์ระหว่างโปรตีน HtrA2 ของกุ้งกับโปรตีน PmIAP (anti-apoptosis protein ของกุ้ง) และ WIAP (anti-apoptosis protein ของ WSSV) พบว่าโปรตีน HtrA2 สามารถกิตปฏิสัมพันธ์กับโปรตีนตังกล่าวทั้งสองชนิตและไม่พบปฏิสัมพันธ์กับโปรตีน VP35 ซึ่งเป็น โปรตีนอีกชนิดหนึ่งของไวรัส ดังนั้นจากงานวิจัยนี้สามารถสรุปได้ว่า HtrA2 มีบทบาทสำคัญในกระบวนการ ตายของเซลล์แบบ apoptosis ในกุ้งซึ่งจัดเป็นกระบวนการวิวัฒนาการที่ถูกอนุรักษ์ไว้ในสิ่งมีชีวิตต่างๆและยัง มีบทบาทในกระบวนการตอบสนองและกำจัดเชื้อไวรัสชองกุ้งโตยผ่านทางกระบวนการ
บทคัดย่อ (EN): HtrA2 is an apoptosis-activating protein to enhance the apoptotic process by preventing the formation of the IAP-caspase complex, thus freeing caspase to trigger the apoptosis pathway. The objectives of this work tried to determine the full-length shrimp HtrA2 and investigated the role of this gene in apoptosis upon WSSV infection. Here, we presented the full-length sequence of HtrA2 from the black tiger shrimp (PmHtrA2) and parific white shrimp (PuHtrA2) The full-length PmHtrA7 was 1338 bp open reading frame encoding 446 amino acids while this of PvHtrA2 was 1,335 bp encoding of 445 amino acids. The translated HtrA2 had the approximate molecular mass of 47 kDa, with pl about 9.3. When analyze the structure of HtrA2, it demonstrated that HtrA2 from both shrimp contained 5 conserved domains, namely, a mitochondrial targeting signal (MTS), a transmembrane (TM) domain, an IAP-binding motif (IBM), a serine protease domain, and a PDZ domain normally found in HtrA2 proteins of other organisms and differed from other serine protease previously found in shrimp. PmHtrA2 and PvHitrA2 shard the nucleotide sequence similarity of 87% and phylogenetically related to HtrA2 in invertebrates.The transcription of HtrA2 was found in several tissues of shrimp with the different expression level including gills, heart, hematopoietic tissues, hemocytes, hepatopancreas, lymphoid organ, intestine, muscle, pleopods and stomach. When using polyclonal antibody specific to shrimp HtrA2, it found that this protein was also detected in muscle and gill. Additionally, the expression level of HtrA2 in both transcriptional and translational level was dramatically increased at 8 h of post infection in shrimp injected with WSSV when compared to the control group. It is also found that shrimp injected with dsRNA specific to HtrA2 showed the increasing of cumulative mortality after challenged with wssv when compared to the control group. When analysis of the interaction of HtrA2 with PmlAP (anti-apoptosis protein of shrimp) and WIAP (anti-apoptosis protein of WSSV), it showed that HtrA2 could interact with these proteins whereas no interaction was observed between HtrA2 and viral VP35. From this result, it may conclude that HtrA2 plays the important role in apoptosis pathway in shrimp which is evolutionally conserved like other organisms and also involves in shrimp defense against viral infection via apoptosis.
ชื่อแหล่งทุน: เงินงบประมาณแผ่นดิน
จำนวนเงินตามสัญญารับงานวิจัย: 500,000.00
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2554-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2556-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
ปีที่ได้รับงบประมาณ (ระบุได้มากกว่า 1 ปี): 2556
ประเภทชิ้นงาน: การวิจัยพื้นฐาน
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
บทบาทของ HtrA2 serine protease ต่อการติดเชื้อไวรัสตัวแดงดวงขาวในกุ้ง (ระยะที่ 2)
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
30 กันยายน 2556
การศึกษาการผลิตโปรตีน VP35, viral-IAP ของไวรัสโรคตัวแดงดวงขาว โปรตีน PPAF และ shrimp-IAP ของกุ้งโดยใช้ E.coli (ระยะที่ 2) บทบาทของHtrA2 serine protease ต่อการติดเชื้อไวรัสตัวแดงดวงขาวในกุ้ง (ระยะที่ 1) การยับยั้งการเพิ่มจำนวนของไวรัสในกุ้งที่ติดเชื้อไวรัสตัวแดงดวงขาว (WSSV) ด้วยเทคนิค RNA Interference (ระยะที่ 2) การศึกษายีนของไวรัสตัวแดงดวงขาวและกุ้งกุลาดำที่เกี่ยวข้องกับกลไกการตายของเซลล์ การพัฒนาชุดตรวจ strip test ต่อโปรตีน ICP11 ของไวรัสตัวแดงดวงขาว การศึกษาการถ่ายทอดชิ้นส่วนของยีนของไวรัสตัวแดงดวงขาวที่แทรกอยู่ใน genome ของกุ้งกุลาดำโดยการสืบพันธุและบทบาทชิ้นส่วนของยีนของไวรัสดังกล่าวต่อภูมิคุ้มกันของลูกกุ้งต่อไวรัสตัวแดงดวงขาว การสร้างแผนที่ปฏิสัมพันธ์ของโปรตีนทั้งหมดของไวรัสตัวแดงดวงขาว การเจริญของเชื้อ Macrophomina phaseolina ในส่วนต่าง ๆ ของพืชภายหลังการติดเชื้อของราก การพัฒนาชุดทดสอบเพื่อวินิจฉัยสภาวะการติดเชื้อเลปโตสไปร่าและ serovars ที่เป็นสาเหตุของการติดเชื้อในปศุสัตว์ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อม และการเกิดโรคไวรัสตัวแดงดวงขาว (white spot syndrome virus, WSSV) ในกุ้งกุลาดำ

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก