สืบค้นงานวิจัย
โครงสร้างประชาคมของสัตว์ทะเลหน้าดิน บริเวณอ่าวตราด จังหวัดตราด
ชุติมณฑน์ ภู่นภาอำพร - มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ชื่อเรื่อง: โครงสร้างประชาคมของสัตว์ทะเลหน้าดิน บริเวณอ่าวตราด จังหวัดตราด
ชื่อเรื่อง (EN): Diversity of benthos in Trat bay, Trat province
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: ชุติมณฑน์ ภู่นภาอำพร
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Chutimon Poonapa-amporn
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย (EN):
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาโครงสร้างประชาคมของสัตว์ทะเลหน้าดิน บริเวณอ่าวตราด จังหวัดตราด โดยทำการเก็บตัวอย่าง 2 ครั้ง (เดือนมีนาคม และกันยายน พ.ศ. 2560) ทั้งหมด 15 สถานี โดยใช้ Grabsampler เก็บรักษาสภาพตัวอย่างโดยการใส่ฟอร์มาลินเข้มข้น 10 เปอร์เซ็นต์ หลังจากนั้นน้ำสัตว์ทะเลหน้าดินมาจำแนกชนิดและนับจำนวน จากนั้นนำข้อมูลสัตว์ทะเลหน้าดินมาคำนวณหาค่าดัชนีความมากชนิด (Speciesrichness) และค่าดัชนีความหลากหลาย (Diversity index) ผลการศึกษาพบ สัตว์ทะเลหน้าดิน ทั้งหมด 73 ชนิดโดยจำแนกเป็น 3 Phylum (Mollusca 35 ชนิด, Annelida 26 ชนิดและArthropoda 12 ชนิด) พบความหนาแน่นรวมของสัตว์พื้นท้องน้ำอยู่ในช่วง 16- 9,264 ตัวต่อตารางเมตร สำหรับดัชนีความมากชนิดมีค่าอยู่ในช่วง 0.0-2.6และดัชนีความหลากหลายมีค่าอยู่ในช่วง 0.0-2.7 ซึ่งพบว่าในฤดูแล้งจะมีความมากชนิดและความหลากหลายของสัตว์ทะเลหน้าดินมากกว่าในฤดูน้ำหลาก
บทคัดย่อ (EN): The research to study on diversity of benthos in Trat bay were divided intotwo seasons , dry season and high loading period of the year 2017.The benthos samples from15 stations were collected by using grab sampler and preserved with 10% formalin. Then thebenthos species were classified and counted a stereo microscope . The benthos data to calculatedusing the Margalef index for Species richness and Diversity index calculated by the Shannon-Wiener’s Index of Diversity.Results of benthos found 73 species belonging to 3 phylum were;Mollusca (35 species), Annelida (26 species) and Arthropoda (12 species). The total densityranged from 16 to 964 animals per square meter. The species richness ranged from 0.0-2.6 andspecies diversity index were 0.0-2.7. Dry season more diversity than high loading period.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2561
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2562
เอกสารแนบ: https://ag2.kku.ac.th/kaj/PDF.cfm?filename=99_Fis21.pdf&id=3571&keeptrack=1
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
โครงสร้างประชาคมของสัตว์ทะเลหน้าดิน บริเวณอ่าวตราด จังหวัดตราด
ไม่ระบุผู้เผยแพร่
2562
เอกสารแนบ 1
การประเมินสภาวะคุณภาพน้ำและดินตะกอนบริเวณอ่าวตราด จังหวัดตราด การศึกษาประสิทธิภาพของเครื่องมือลอบปูทะเลแบบพับได้ บริเวณอ่าวตราด จังหวัดตราด โครงสร้างประชากรสัตว์ทะเลหน้าดินขนาดใหญ่บริเวณหาดทรายเกาะสีชัง จังหวัดชลบุรี องค์ประกอบและความชุกชุมของสัตว์ทะเลหน้าดินบริเวณหาดทรายแก้วและอ่าวพร้าว อุทยานแห่งชาติเขาแหลมหญ้า-หมู่เกาะเสม็ด จังหวัดระยอง สภาวะแวดล้อมบริเวณแหล่งหอยลายจังหวัดตราด การศึกษาโครงสร้างประชากรของสัตว์ทะเลหน้าดินขนาดใหญ่บริเวณ หาดทราย เกาะสีชัง จังหวัดชลบุรี การประมงอวนครอบปลากะตักที่แจ้งเข้าออกเพื่อขึ้นสัตว์น้ำต่อศูนย์ควบคุมการแจ้งเรือ เข้าออกตราด ปี 2561 แนวทางการฟื้นฟูแหล่งหอยลายบริเวณจังหวัดตราด คุณภาพน้ำบริเวณอ่าวนครศรีธรรมราช ความชุกชุมของสัตว์น้ำบริเวณอ่าวนครศรีธรรมราช

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก