สืบค้นงานวิจัย
การปรับปรุงพันธุ์ข้าวเพื่อเพิ่มปริมาณแป้งทนต่อการย่อยด้วยเอนไซม์ โดยใช้เครื่องหมายโมเลกุลช่วยในการคัดเลือก
ยุพเยาว์ คบพิมาย - มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ชื่อเรื่อง: การปรับปรุงพันธุ์ข้าวเพื่อเพิ่มปริมาณแป้งทนต่อการย่อยด้วยเอนไซม์ โดยใช้เครื่องหมายโมเลกุลช่วยในการคัดเลือก
ชื่อเรื่อง (EN): Improvement of rice variety to increase resistant starch using molecular marker-assisted selection
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: ยุพเยาว์ คบพิมาย
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Yuppayao Kophimai
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: แป้งทนต่อการย่อยด้วยเอนไซม์มีประโยชน์ต่อสุขภาพของผู้บริโภค งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงพันธุ์ข้าวที่มีคุณภาพการหุงต้มดีให้มีปริมาณแป้งทนต่อการย่อยด้วยเอนไซม์สูงขึ้น และการพัฒนาเครื่องหมายโมเลกุลที่ยึดติดกับปริมาณแป้งทนต่อการย่อยด้วยเอนไซม์ในข้าว โดยใช้ข้าวพันธุ์กข 43 เป็นพันธุ์ให้ ส่วนปทุมธานี 1 และ กข-แม่โจ้ 2 เป็นพันธุ์รับ เครื่องหมายโมเลกุลที่ใช้ในการคัดเลือกและตรวจสอบลูกผสมมาจาก 3 ยีนที่อยู่ในวิถีการสังเคราะห์แป้ง ได้แก่ ยีน SSIIIa, SBEIIb และ Waxy พบว่า สามารถผลิตลูกผสม F1, F2, BC1F1, BC1F2 และ BC2F1ได้ทั้งจากคู่ผสม ปทุมธานี 1 x กข 43 และ กข-แม่โจ้ 2 x กข 43 อย่างไรก็ตามข้าวพันธุ์ให้คือ กข 43 มีปริมาณแป้งทนต่อการย่อยด้วยเอนไซม์ต่า จึงได้เตรียมแผนปฏิบัติการในปี 2563 ไว้จานวน 3 แผน
บทคัดย่อ (EN): Resistant starch is beneficial for comsumer’s health. This research aimed to increase resistant starch content in rice which has good cooking and eating quality, and develop molecular marker linking with resistant starch content in rice. RD 43 was the donor, whereas, Pathum Thani 1 and RD Maejo 2 were recipients. Molecular markers that were used in hybrid selection were from three starch biosynthesis pathway genes; SSIIIa, SBEIIb and Waxy. The results showed that F1, F2, BC1F1, BC1F2 and BC2F1 hybrids were able to produce both from Pathum Thani 1 x RD 43 and RD Maejo 2 x RD 43. However, RD 43 had low amount of resistant starch and therefore the three action plans for year 2563 were prepared.
แผนยุทธศาสตร์งานวิจัย – ระดับกระทรวง: คณะวิทยาศาสตร์
เลขทะเบียนวิจัยกรม: มจ.1-62-01-004.6
ชื่อแหล่งทุน: งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
จำนวนเงินตามสัญญารับงานวิจัย: 746,937
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2562
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2562
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
ปีที่ได้รับงบประมาณ (ระบุได้มากกว่า 1 ปี): 2562
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยแม่โจ้
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การปรับปรุงพันธุ์ข้าวเพื่อเพิ่มปริมาณแป้งทนต่อการย่อยด้วยเอนไซม์ โดยใช้เครื่องหมายโมเลกุลช่วยในการคัดเลือก
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
2562
การปรับปรุงพันธุ์ข้าวหอมกระดังงาไม่ไวแสง ด้วยวิธีการผสมกลับ โดยการใช้เครื่องหมายโมเลกุลระบุตำแหน่งยีนในการคัดเลือก การคัดเลือกสายพันธุ์ข้าวนาสวนนาน้ำฝนโดยใช้โมเลกุลเครื่องหมาย การปรับปรุงพันธุ์ข้าวให้มีแอนโทไซยานินสูงโดยใช้เครื่องหมายโมเลกุลช่วยในการคัดเลือกเพื่อเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการ การปรับปรุงพันธุ์ข้าวเหนียวหอมจากข้าวเจ้าด้วยวิธีผสมกลับโดยใช้ เครื่องหมายโมเลกุลช่วยในการคัดเลือก การพัฒนาโมเลกุลเครื่องหมายเพื่อใช้ตรวจสอบความบริสุทธิ์ของพันธุ์ข้าวในกลุ่มข้าวหอมมะลิของไทย การปรับปรุงพันธุ์ข้าวหอมกระดังงาไม่ไวแสง ชั่วที่1 โดยการใช้เครื่องหมายโมเลกุลระบุตำแหน่งยีนในการคัดเลือก การปรับปรุงพันธุ์ข้าวเพื่อเพิ่มปริมาณลูทีนหรือซีแซนทีนโดยใช้เครื่องหมายดีเอ็นเอจำเพาะยีนช่วยในการคัดเลือก ผลของอุณหภูมิในการเก็บรักษาต่อการเปลี่ยนแปลงความหนืด ของข้าวพันธุ์ต่างๆ วิธีทางเทคโนโลยีชีวภาพในการลดมลภาวะในฟาร์มสุกร I. การใช้เอนไซม์เพื่อเพิ่มการย่อยได้ของโภชนะ การประยุกต์ใช้สนามไฟฟ้าในการเพิ่มผลผลิตข้าว

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก