สืบค้นงานวิจัย
แนวทางการพัฒนาการเลี้ยงและการเพาะขยายพันธุ์ปลาตูหนาและปลาบึกในบ่อดิน
เกรียงศักดิ์ เม่งอำพัน - มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ชื่อเรื่อง: แนวทางการพัฒนาการเลี้ยงและการเพาะขยายพันธุ์ปลาตูหนาและปลาบึกในบ่อดิน
ชื่อเรื่อง (EN): AQUACULTURE OF GIANT CATFISH (Pangasius gigas, Chevey) AND ANGUILLA EEL (Anguilla australis) IN EARTHEN POND.
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: เกรียงศักดิ์ เม่งอำพัน
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย: จงกล พรมยะ
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: ปลาบึกเป็นปลาหนังที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก สามารถเจริญเดิบโตได้ดีทั้งในบ่อดิน และแหล่งน้ำธรรมชาติ แต่ในปัจจุบันพบว่าปลาบึกในแม่น้ำโขงมีจำนวนลดน้อยลงจนเกรงว่าจะ สูญพันธุ์ ปลาบึกเป็นปลาที่ยังไม่สามารถพาะผสมเทียมจากการเลี้ยง ปลาบึกที่ทดลองที่ เลี้ยง ปีแรกมีอัตราเจริญเติบโต 13 กรัม/วัน น้ำหนัก ร04 กรัม ปีที่ 2 มีอัตราเจริญเดิบโต 1.0 กรัม/ วัน น้ำหนัก 1,293 กรัม ที่อัตราปล่อย 1! ตัว/ 2 ตารางเมตร เละ 1/4 ตารางเมตร ตามลำดับ การทดลองที่ 2 อาหารโปรตีน 30% ให้อัตราการเจริญเติบโตสูงกว่า 20% 2.2 และ 1.75 กรัม/วัน น้ำหนัก 2,108 และ 1,938 กรัม ความสำคับ มีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยสำคัญ (P < 0.01) การทดลองที่ 3 ปลาบึกขนาด 1.3 กก. ปล่อยในคอกอัตรา ตัว/ 10 ตารางเมตร และ 1 ตัว/ 20 ตารางเมตร ให้มีอัตราเจริญเติบโต 2.2 และ 2.4 กรัม/วัน น้ำหนัก 2.1 และ 2.4 กก. ตามลำดับ ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ (P > 0.05) การทคลองที่ 4 ใช่ Growth Hormone (GH) ากการ สังเคราะห์จากต่อมใต้สมองปลาบึกกับชุดควบคุม จากผลการทคลองพบว่ามีอัตราการเจริญเติบ โด 34 กรัม/วัน น้ำหนัก 4.029 กรัม ชุดฉีด 0.5% NaCI 2.5 กรัม/วัน น้ำหนัก 3,69 กรัม ไม่มีความแตกต่างทางสถิติระหว่างฉีค GH กับชุดควบคุม แต่แดกต่างกับชุดที่ฉีดคั่วย 0.4% NaCI (P < 0.05) ปลานึกจากการเลี้ยงในบ่อไม่พบการพัฒนาของรังไข่และอัณฑะ โดยมีค่า GรI ของรังไข่ 0.5% ของอัณทะ 0.04% ปลาบึกที่เลี้ยงในอ่างเก็บน้ำในอัตราความหนาแน่! 1 ตัว (160 ม' เป็นเวลา 3 ปี 8 เดือน โต 10.5 กก. หรือ 7.4 กรัม/วัน โตกว่าการเลี้ยงในบ่อ 23 เท่า
บทคัดย่อ (EN): The giant catfish is a largest catfish in the world. It is believed that they have originated only in the Maekong River and have been found to grow well in large water impoundments. At present, their population has been decreasing especially in the Mackong River, from 65 fish in 1993 to only 6 fish in 1996. Artificial spawning could be done only from brood stock in Maekong River. The first and second year of the experiment were conducted in pound by different stocking densities (1/2 m and 1/4 m). Growth rate produced was 1.3 and 1.6 gm/day with final weights of 504 and 1,293 gm, respeclively. Fish growth rate with 30% and 20% protein contents of the feed provided 2.2 and 1.75 gm/day with a final weight of 2.108 and 1938 kg. Statistical analysis showed a highly significant difference among treaments (P <0.01). The third and bour year of expefiment were counducted in pen on the effects of the stocking density by 1/10 m' and 1/20 m] were obtained from 2.2 and 2.4 g/day with a final weight of 2.101 and 2.148 kg, respectively. The growth hormone (GH) through muscular injection (0.1 ml/kg) provided 3.4 g/day with a final weight of 4.029 kg. while 0.5% NaCl muscular injection provided 2.5 g/day with a final weight of 3.619 kg. Statistical analysis showed a significant difference (P <0.05). Gonad development were not found in fish weighing from 2.5 kg and 3.9 kg which showed gonadosomatic index (GSI) of 0.4 anc 0.04% from ovary and testis, respectively. Growth fish stocking of 1/ 160 m' was obtained from 10.5 kg with 7.4 g/day in 4 year and & shonths from a 3-rai reservoir.
แผนยุทธศาสตร์งานวิจัย – ระดับกระทรวง: คณะผลิตกรรมการเกษตร
เลขทะเบียนวิจัยกรม: มจ.1-35-012
ชื่อแหล่งทุน: งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2534
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2535
เอกสารแนบ: http://webpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/research/2549/kreiansak_mangampun_2540/fulltext.pdf
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยแม่โจ้
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
แนวทางการพัฒนาการเลี้ยงและการเพาะขยายพันธุ์ปลาตูหนาและปลาบึกในบ่อดิน
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
2535
เอกสารแนบ 1
เอกสารแนบ 2
แนวทางการเพิ่มผลผลิตการเลี้ยงปลาบึกในบ่อดินและในกระชัง เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่เกษตรกร ระบบการเลี้ยงปลาบึกอายุ 1 - 2 ปี ในบ่อดินเพื่อการค้า ระบบการเลี้ยงกุ้งกรามกรามร่วมกับปลาบึกในบ่อดิน การเลี้ยงปลาเผาะร่วมกับปลาบึกในบ่อดินเพื่อการค้า การเลี้ยงปลานิลเพศผู้ 3 สายพันธุ์ในบ่อดิน ระบบการเลี้ยงที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของปลาบึก และการลดกลิ่นโคลนในเนื้อปลาบึก ระบบการเลี้ยงพ่อแม่พันธุ์เพื่อการผลิตสายพันุ์ปลาบึก การพัฒนากระบวนการผลิตปลานิลในกระชังในบ่อเลี้ยงปลาบึกเพื่อเสริมรายได้ การเลี้ยงปลานิลแปลงเพศในบ่อดินที่ความหนาแน่นต่างกัน การเพาะเลี้ยงสาหร่าย Cladophora (ไก) และ Spirulian เพื่อเป็นอาหารปลาบึก

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก