สืบค้นงานวิจัย
การแสดงออกของพันธุ์และสายพันธุ์ถั่วฝักยาวในการปลูกแบบอินทรีย์และแบบใช้สารเคมี
พรทิพย์ พรสุริยา, ปราโมทย์ พรสุริยา, ศิริมา ธีรสกุลชล, พรทิพย์ พรสุริยา, ปราโมทย์ พรสุริยา, ศิริมา ธีรสกุลชล - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก
ชื่อเรื่อง: การแสดงออกของพันธุ์และสายพันธุ์ถั่วฝักยาวในการปลูกแบบอินทรีย์และแบบใช้สารเคมี
ชื่อเรื่อง (EN): Performance of Yard Long Bean Cultivars and Lines in Organic and Conventional Cultivations
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: บทคัดย่อ งานวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินสายพันธุ์และพันธุ์ถั่วฝักยาวในสภาพการปลูกแบบเคมี และการปลูกแบบอินทรีย์ (ให้ปุ๋ยอินทรีย์) และเพื่อคัดเลือกสายพันธุ์ถั่วฝักยาวจากการผสมข้ามกัน ระหว่างพันธุ์หรือสายพันธุ์ การทดลองมี 4 ฤดูปลูก โดยฤดูปลูกที่ 1 และ 2 เป็นการเปรียบเทียบสาย พันธุ์และพันธุ์ถั่วฝักยาวในสภาพการปลูกแบบเคมี และการปลูกแบบอินทรีย์ ตามล าดับ วางแผนการ ทดลองแบบสุ่มในบล็อกสมบูรณ์ (RCBD) ท า 3 ซ า จ านวน 8 ทรีตเมนต์ ประกอบด้วย (1) พันธุ์ การค้า 2 พันธุ์ ได้แก่ พันธุ์สุดสาคร และพันธุ์ล าน าชี (2) สายพันธุ์ที่คัดเลือกจากพันธุ์พื นเมือง 3 สาย พันธุ์ ได้แก่ สายพันธุ์นาวังหิน สายพันธุ์เบอร์ 10 และ เบอร์ 12 และ (3) สายพันธุ์ที่คัดเลือกจาก พันธุ์น าเข้า ได้แก่ สายพันธุ์ฝักม่วง บางพระ1 และ บางพระ2 โดยท าการผสมข้ามระหว่างพันธุ์/สาย พันธุ์ที่น่าสนใจของฤดูปลูกที่ 2 ส่วนในฤดูปลูกที่ 3 และ 4 ปลูกลูกผสมชั่วรุ่นที่ 1 และ 2 ของคู่ผสม ตามล าดับ ของคู่ผสมสายพันธุ์นาวังหิน x บางพระ1, สายพันธุ์ฝักม่วง x บางพระ2 และ สายพันธุ์ บางพระ1 x พันธุ์ล าน าชีในสภาพการปลูกแบบให้ปุ๋ยอินทรีย์ ท าการทดลองที่คณะเกษตรศาสตร์ และทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก จังหวัดชลบุรีฤดูปลูกที่ 1: ธันวาคม 2556 - มีนาคม 2557, ฤดูปลูกที่ 2: มกราคม-เมษายน 2557, ฤดูปลูกที่ 3: พฤษภาคม- กรกฎาคม 2557 และ ฤดูปลูกที่ 4: กรกฎาคม-กันยายน 2557 ผลการทดลองพบว่า ในสภาพการปลูกโดยใช้ปุ๋ยเคมี ผลผลิตฝักสดต่อไร่ของถั่วฝักยาวมี ความแตกต่างกันที่ระดับนัยส าคัญ 0.01 (P < 0.01) โดยที่สายพันธุ์ที่ให้ผลผลิตฝักสดสูงเป็นอันดับ 1 ถึง 3 ซึ่งไม่แตกต่างกัน ได้แก่ สายพันธุ์บางพระ2, สายพันธุ์ฝักม่วง และสายพันธุ์บางพระ1 (2.68, 2.55 และ 2.51 ตันต่อไร่ ตามล าดับ) โดยที่สายพันธุ์บางพระ2 นอกจากจะให้ผลผลิตสูงแล้ว ยังมี ฝักยาว (57.65 เซนติเมตร) และจ านวนฝักต่อต้นสูง (16.21 ฝักต่อต้น) ในพันธุ์การค้าพบว่าพันธุ์สุด สาครให้ผลผลิตและจ านวนฝักต่อต้นสูงกว่าพันธุ์ล าน าชี ในส่วนของการทดสอบในสภาพการปลูก แบบใช้ปุ๋ยอินทรีย์โดยการเปรียบเทียบผลผลิตเมล็ดพันธุ์ พบว่าสายพันธุ์บางพระ1 และบางพระ2 ให้ ผลผลิตเมล็ดพันธุ์ (180.15 และ 163.56 กิโลกรัมต่อไร่) มากกว่าพันธุ์การค้าและสายพันธุ์อื่นๆ โดย มีค่าอัตราพันธุกรรมอย่างกว้างสูงในหลายลักษณะ และจากการผสมข้ามระหว่างสายพันธุ์เพื่อศึกษา ความแปรปรวนของลักษณะในลูกผสมชั่วรุ่นที่ 2 พบว่าในลักษณะความยาวฝัก คู่ผสม ฝักม่วง x บางพระ2 มีความแปรปรวนของความยาวฝักมากกว่าคู่ผสม นาวังหิน x บางพระ1 (P < 0.05) และ ในลักษณะจ านวนฝักต่อต้น คู่ผสม นาวังหิน x บางพระ1 มีความแปรปรวนของจ านวนฝักต่อต้น มากกว่าคู่ผสม ฝักม่วง x บางพระ2 (P < 0.01) ดังนั นจึงมีโอกาสในการที่จะคัดเลือกลักษณะ ดังกล่าวได้จากความแปรปรวนของประชากรในลูกชั่วรุ่นที่ 2
บทคัดย่อ (EN): The purposes of this research were to evaluate yardlong bean lines and cultivars under chemical and organic (organic fertilizer) cultivations, and to select yardlong bean elite lines from the crosses of these lines/cultivars. The experiment divided into 4 seasons; Comparisons of lines and cultivars under chemical and organic (organic fertilizer) cultivations were conducted in season 1 and 2, respectively. A randomized complete block design with 3 replications and 8 treatments was used for both seasons. The treatments were composed of 2 commercial cultivars (Suddakorn and Lamnamchee), 3 lines selected from local cultivars (Nawanghin, No. 10 and No. 12), and 3 lines selected from introduced cultivars (Purple pod, Bangpra#1 and Bangpra#2). Three crosses (Nawanghin x Bangpra#1, Purple pod x Bangpra#2 and Bangpra#1 x Lamnamchee) were handpollinated to produced F1 generation seeds in the second season. F1 and F2 generations of the selected crosses were respectively planted in the third and fourth season under the organic-fertilizer cultivation. The experiment was conducted at Faculty of Agricultural and Natural Resources, Rajamangala University of Technology Tawan-ok, chonburi, during December 2013 – March 2014, January – April 2013, May – July 2013 and July – September 2013 of the first, second, third and fourth season, respectively. The results revealed that yield per rai of yarldlong bean lines/cultivars under chemical cultivation were significantly different (P < 0.01). Bangpra#2, Purple pod and Bangpra#1 lines gave the highest yield of 2.68, 2.55 and 2.51 ton per rai, respectively, which were not different from each other. For Bangpra#2 line, it gave not only high yield, but also long pod (57.65 cm) and high number of pods per plant (16.21 pods per plant). Considering commercial cultivars, Sudsakorn cultivar had more yield and pods per plant than Lamnamchee cultivar. The results of seed yield comparison under organic-fertilizer cultivation in the second season showed that Bangpra#1 and Bangpra#2 lines gave more yield (180.15 and 163.56 kg per rai, respectively) than the commercial cultivars and other lines. The values of heritability in broad sense were high for almost studied characters. The results of F2 generation revealed that the cross of Purple pod x Bangpra#2 had more variation in pod length than that of Nawanghin x Bangpra#1 (P < 0.05), whereas, in pods per plant, Nawanghin x Bangpra#1 had more variation than Purple pod x Bangpra#2. Thus, there is a chance to select for these characters from the variations in these F2 populations.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2555-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2556-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การแสดงออกของพันธุ์และสายพันธุ์ถั่วฝักยาวในการปลูกแบบอินทรีย์และแบบใช้สารเคมี
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก
30 กันยายน 2556
การปลูกถั่วฝักยาวไร้ค้างพันธุ์ มข.25 เพื่อผลิตเมล็ดพันธุ์ การประเมินผลผลิตถั่วฝักยาว 40 สายพันธุ์ การปรับปรุงพันธุ์ถั่วฝักยาวเพื่อให้ต้านทานต่อการทำลายของแมลงศัตรู ระยะที่ 2 การทดสอบพันธุ์ข้าวโพดหวานในระบบการปลูกแบบอินทรีย์ ในหลายฤดูปลูก เปรียบเทียบการต้านทานการเข้าทำลายของเพลี้ยอ่อนในพันธุ์พ่อ–แม่ และลูกผสมชั่วที่ 1 จากคู่ผสมระหว่างถั่วฝักยาวและถั่วพุ่ม ประเมินความงอกของถั่วฝักยาวและถั่วพุ่ม 43 สายพันธุ์ ผลของอุณหภูมิและบรรจุภัณฑ์ต่อคุณภาพของถั่วฝักยาวที่ปลูกแบบอินทรีย์และแบบใช้สารเคมี การสร้างพันธุ์ถั่วฝักยาวพันธุ์น่าน 1 การผลิตเมล็ดพันธุ์ถั่ว American Jointvetchสายพันธุ์ Leeและสายพันธุ์Glenn เพื่อใช้เป็นพืชอาหารสัตว์ในที่ลุ่ม (1) การเร่งความงอกของเมล็ดถั่ว American Jointvetch สายพันธุ์ Lee และสายพันธุ์ Glenn ความแปรปรวนทางพันธุกรรมและการคัดเลือกสายพันธุ์บริสุทธิ์ของถั่วฝักยาวพื้นเมืองพันธุ์พนัสนิคม

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก