สืบค้นงานวิจัย
การประเมินปริมาณน้ำท่วมและพื้นที่เสี่ยงภัยน้ำท่วมในลุ่มน้ำน่านตอนบน
กนกพร บูชาบุญ - กรมชลประทาน
ชื่อเรื่อง: การประเมินปริมาณน้ำท่วมและพื้นที่เสี่ยงภัยน้ำท่วมในลุ่มน้ำน่านตอนบน
ชื่อเรื่อง (EN): Assessment of flood and flood risk area in Upper Nan watershed
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: กนกพร บูชาบุญ
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Kanokpon Buchabun
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย (EN):
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
หมวดหมู่: อื่นๆ
บทคัดย่อ: ปัญหาอุทกภัยมักก่อให้เกิดความสูญเสียต่อชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนอย่างมหาศาลและมีแนวโน้มทวีความรุนแรงและความถี่ของการเกิดเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะพื้นที่ลุ่มน้ำน่านตอนบนมักจะเกิดน้ำท่วม เนื่องจากการเอ่อล้นตลิ่งของแม่น้ำน่านในลักษณะไหลท่วมแบบฉับพลันและมีผลกระทบรุนแรงบริเวณพื้นที่ริมตลิงในพื้นที่เทศบาลเมืองนานเป็นประจำในช่วงฤดูน้ำหลาก น้ำที่ไหลหลากมาถูกชะลอด้วยโครงสร้างต่างๆ ทั้งถนน สะพาน รวมทั้งระบบการระบายน้ำในเขตเทศบาล ทำให้เกิดน้ำท่วมขังในพื้นที่เขตเทศบาล ซึ่งเป็นพื้นที่ที่มีความหนาแน่นของชุมชน ดังนั้นเพื่อให้ลดความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นกับพื้นที่ที่เกิดน้ำท่วมเป็นประจำ การสร้างเครื่องมือเพื่อช่วยในการวางแผนและเตรียมรับสถานการณ์น้ำท่วมจึงมีความเป็น การพัฒนาแบบจำลองด้านภูมิสารสนเทศและแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ เพื่อประเมินปริมาณน้ำท่วมและพื้นที่เสี่ยงภัยน้ำท่วมในพื้นที่ลุ่มน้ำน่านตอนบน ในการประเมินพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบกรณีเกิดน้ำหลากรวมทั้งระดับความรุนแรงของปัญหาอุทกภัยในเชิงพื้นที่ เพื่อให้สามารถเตรียมการป้องกันและวางแผนการบริหารจัดการได้ทันท่วงที ซึ่งผลการศึกษาได้วิเคราะห์เหตุการณ์การเกิดน้ำท่วมในอดีตจากข้อมูลทางอุทกวิทยา ร่วมกับการประเมินปริมาณน้ำท่วมและการจัดทำแผนที่เสี่ยงภัยน้ำท่วมในบริเวณลุ่มน้ำน่านตอนบนด้วยข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมและข้อมูลสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ ซึ่งจะสามารถใช้เป็นข้อมูลในการจัดทำแผนการเตรียมความพร้อมและเป็นเครื่องเป็นประเภทหนึ่งในการบริหารจัดการ ที่จะสามารถลดระดับความรุนแรงของภัยพิบัติและลดระดับมูลค่าความเสียหายที่คาดว่าอาจจะเกิดขึ้นในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่เสี่ยงดังกล่าว ดำเนินการฟิ้นฟูให้ความช่วยเหลือชุมชน รวมทั้งเป็นเครื่องมือให้ความช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัยในอีกทางหนึ่ง
บทคัดย่อ (EN): Abstract is in the attached file.
เลขทะเบียนวิจัยแหล่งทุน: 0
วิธีการจ้างทำงานวิจัย: ดำเนินการวิจัยเอง
จำนวนเงินตามสัญญารับงานวิจัย: 0
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2552
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2553
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
ปีที่ได้รับงบประมาณ (ระบุได้มากกว่า 1 ปี): 2553
ประเภทชิ้นงาน: การวิจัยพื้นฐาน
เผยแพร่โดย: กรมชลประทาน
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
รายละเอียด: Submitted by รดา รุจณรงค์ กรมชลประทาน (rada_ru@rid.go.th) on 2019-02-28T03:22:50Z No. of bitstreams: 2 การประเมินปริมาณน้ำท่วม.pdf: 598374 bytes, checksum: 19b6dc4c269bce6431eeb23074b4be55 (MD5) license_rdf: 811 bytes, checksum: 53b05846eb6eeb1c33891ab08e36a383 (MD5)
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การประเมินปริมาณน้ำท่วมและพื้นที่เสี่ยงภัยน้ำท่วมในลุ่มน้ำน่านตอนบน
กรมชลประทาน
2553
กรมชลประทาน
อาหารปลอดภัยในช่วงน้ำท่วม 2 หนังสืออยู่อย่างไรให้ปลอดภัย...ช่วงน้ำท่วม หนังสือกำจัดเชื้อในบ้าน...หลังน้ำท่วม ศึกษาการฟื้นฟูต้นปาล์มน้ำมันอย่างรวดเร็วหลังน้ำท่วมขัง (ปีที่ 3) การตอบสนองทางสรีรวิทยาเมื่อถูกน้ำท่วมขณะงอกของเมล็ดข้าวสายพันธุ์ไทย ความสัมพันธ์ระหว่างการตอบสนองของพันธุ์ข้าวต่อความมืดและการทนน้ำท่วมฉับพลัน การจัดการพื้นที่เสี่ยงภัยแล้งและน้ำท่วมที่มีต่อการปลูกข้าวในจังหวัดเพชรบูรณ์ การตรวจหายีน Sub1A และลักษณะทนน้ำท่วมในสายพันธุ์ข้าวไทย การตรวจสอบกลไกของเชื้อไรโซเบียมที่ใช้ส่งเสริมการเจริญของถั่วลิสงภายใต้สภาวะน้ำท่วม การประเมินปริมาณน้ำใต้ดินกับขนาดพื้นที่น้ำท่วมในพื้นที่ลุ่มน้ำยมและน่านตอนล่าง

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก