สืบค้นงานวิจัย
การประมงหมึกสายในน่านน้ำไทย
วิโรจน์ คงอาษา - กรมประมง, กองวิจัยและพัฒนาประมงทะเล
ชื่อเรื่อง: การประมงหมึกสายในน่านน้ำไทย
ชื่อเรื่อง (EN): Octopus Fisheries in Thai Waters
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: วิโรจน์ คงอาษา
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Wirot Kongasa
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย: จามรี พัดสอน
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย (EN): Jamaree Padsorn
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
หมวดหมู่:
บทคัดย่อ: ศึกษาการประมงหมึกสายในน่านน้าไทย โดยเก็บข้อมูลจากเรือประมงอวนลากแผ่นตะเฆ่ อวนลากคู่ และลอบหมึกสาย บริเวณท่าเทียบเรือและท่าขึ นสัตว์น้าในจังหวัดชายทะเลระหว่างเดือนมกราคม ปี 2558-ธันวาคม ปี 2559 พบว่าเรือประมงอวนลากแผ่นตะเฆ่มีแหล่งท้าการประมงครอบคลุมพื นที่ระดับความลึกน้า 7-80 เมตร เรือประมงอวนลากคู่มีแหล่งท้าการประมงครอบคลุมพื นที่ระดับความลึกน้า 6-88 เมตร เรือประมงลอบหมึกสายมีแหล่งท้าการประมงหนาแน่นบริเวณชายฝั่ง หรือรอบ ๆ เกาะ ที่ระดับความลึกน้า 3-30 เมตร โดยที่เรือประมงอวนลากแผ่นตะเฆ่ขนาดเล็ก (< 30 ตันกรอส) ขนาดกลาง (30-<60 ตันกรอส) และขนาดใหญ่ (60-<150 ตันกรอส) ในน่านน้าไทยมีอัตราการจับหมึกสายอยู่ในช่วง 0.152-0.632 0.005-0.473 และ 0.025-0.739 กก./ชม. ตามล้าดับ ส่วนเรือประมงอวนลากคู่ขนาดเล็กมีอัตราการจับหมึกสาย เท่ากับ 0.066 กก./ชม. เรือประมงอวนลากคู่ขนาดกลาง และขนาดใหญ่ในน่านน้าไทยมีอัตราการจับหมึกสายอยู่ในช่วง 0.067-0.369 และ 0.109-0.832 กก./ชม. ตามล้าดับ และเรือประมงลอบหมึกสายซึ่งพบเฉพาะบริเวณอ่าวไทย มีอัตราการจับหมึกสายเฉลี่ยอยู่ในช่วง 0.084-0.188 กก./ลอบ 10 ลูก พบหมึกสายจากเรือประมงอวนลาก จ้านวน 9 ชนิด ได้แก่ หมึกสายลายหินอ่อน (Amphioctopus aegina) หมึกสายจุดด้า (A. exannulatus) หมึกสายด้า (A. marginatus) หมึกสายจุดขาว (A. neglectus) หมึกสายราชา (A. rex) หมึกสายสกุล Amphioctopus หมึกสายขาว (Callistoctopus luteus) หมึกสายใหญ่ (Cistopus indicus) และหมึกสายอื่น ๆ (Octopodidae) พบหมึกสายจากเรือประมงลอบหมึกสาย จ้านวน 3 ชนิด ได้แก่ หมึกสายลายหินอ่อน หมึกสายจุดขาว และหมึกสายราชา ความยาวล้าตัวของหมึกสายในน่านน้าไทยจากเรือประมงอวนลากแผ่นตะเฆ่ อวนลากคู่ และลอบหมึกสาย อยู่ในช่วง 1.25-12.25 0.75-11.75 และ 1.25-9.75 ซม.
บทคัดย่อ (EN): The study on octopus fisheries in Thai waters was conducted by data collection from otter board trawlers, pair trawlers and octopus trap fishing boats at fishing ports and landing sites located along coastal provinces during January 2015 and December 2016. It was found that the fishing ground of otter board trawlers was the area with 7-80 meters of water depth. While the fishing ground of paired trawlers was the area with 6-88 meters of water depth. The fishing ground of octopus trap fishing boats was concentrated at coastal areas or around islands with 3-30 m of water depth. The catch per unit effort (CPUE) of octopus from small (< 30 GT), medium (30-< 60 GT) and large (60-< 150 GT) otter board trawlers were in the range of 0.152-0.632, 0.005-0.473 and 0.025-0.739 kg/hr., respectively, while the CPUE of octopus from small pair trawlers was 0.066 kg/hr., the CPUE of octopus from medium and large pair trawlers were in the range of 0.066, 0.067-0.369 and 0.109-0.832 kg/hr., respectively. The average CPUE of octopus trap fishing boats which were found only in the Gulf of Thailand were in the range of 0.084-0.188 kg/10 traps. There were 9 species of octopus found in trawlers namely Amphioctopus aegina, A. exannulatus, A. marginatus, A. neglectus, A. rex, Amphioctopus sp. Callistoctopus luteus, Cistopus indicus and Octopodidae. There were 3 species of octopus found in octopus trap fishing boats namely A. aegina, A. neglectus and A. rex. The mantle length of octopus from otter board trawlers, pair trawlers and octopus trap fishing boats were in the range of 1.25-12.25, 0.75-11.75 and 1.25-9.75 cm.
แผนยุทธศาสตร์งานวิจัย – ระดับชาติ:
วิธีการจ้างทำงานวิจัย: ดำเนินการวิจัยเอง
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2558
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2562
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
พื้นที่ดำเนินการ: น่านน้ำไทย
ช่วงเวลาที่รวบรวมข้อมูล: 2558-2562
ประเภทชิ้นงาน: การวิจัยพื้นฐาน
เผยแพร่โดย: กองวิจัยและพัฒนาประมงทะเล
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การประมงหมึกสายในน่านน้ำไทย
กองวิจัยและพัฒนาประมงทะเล
2562
เอกสารแนบ 1
ผลกระทบของการประมงลอบหมึกสายบริเวณอ่าวไทยตอนกลาง การประมงหมึกสายโดยเปลือกหอยจุกพราหมณ์ในอ่าวไทย การทำการประมงและเศรษฐกิจสังคมของชาวประมงในทะเลน้อย จังหวัดพัทลุง แหล่งและฤดูทำการประมงของการประมงพาณิชย์บริเวณอ่าวไทยฝั่งตะวันออก การจัดการประมงกุ้งมังกร (Panulirus spp.) อย่างยั่งยืนเพื่อชุมชนประมง ทรัพยากรประมงจากการประมงพื้นบ้านบริเวณอ่าวไทยตอนใน ทรัพยากรประมงจากการประมงพื้นบ้านบริเวณอ่าวไทยตอนใน สมุทรศาสตร์การประมงบริเวณแหล่งประมงปลาทูน่าในทะเลอันดามัน การทำการประมง และเศรษฐกิจสังคมของชาวประมงในทะเลสาบสงขลา จังหวัดพัทลุง สภาวะการทำการประมง ผลจับสัตว์น้ำ และการบริโภคสัตว์น้ำของชาวประมงในทุ่งสามร้อยยอด จังหวัดประจวบคีรีขันธ์

แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก