สืบค้นงานวิจัย
ประเด็นปัญหาและชุดความรู้เทคโนโลยีการผลิตยางพาราของผู้ปลูกยางพารารายย่อยจังหวัดนครพนม
ยศ บริสุทธิ์ - มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ชื่อเรื่อง: ประเด็นปัญหาและชุดความรู้เทคโนโลยีการผลิตยางพาราของผู้ปลูกยางพารารายย่อยจังหวัดนครพนม
ชื่อเรื่อง (EN): Problems and technological knowledge package of Para-rubber production for smallholders in Nakhon Phanom province
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: ยศ บริสุทธิ์
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Yos Borisutdhi
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย: กัลยา มิขะมา
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย (EN): Kanlaya Mikhama
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: ยางพาราถือเป็นพืชเศรษฐกิจใหม่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ การศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ประเด็นปัญหาที่ผู้ปลูกยางพารารายย่อยในจังหวัดนครพนมประสบ และความต้องการชุดความรู้ด้านเทคโนโลยีการผลิต ยางพารา โดยได้รวบรวมข้อมูลจากการจัดเวทีรวบรวบประเด็นปัญหาตลอดจนองค์ความรู้เทคโนโลยีที่ผู้ปลูกยางพารา รายย่อยต้องการ จำนวน 2 เวที เกษตรกรเข้าร่วม 95 ราย พร้อมทั้งใช้แบบสอบถามสั้นรวบรวมข้อมูลเพิ่มเติม ผลการศึกษา พบว่า ประเด็นการผลิตยางพาราที่สำคัญตามทัศนะของเกษตรกร ได้แก่ 1 ปุ๋ยเคมีราคาแพงปุ๋ยไม่ได้มาตรฐาน ขาดความรู้ เรื่องปุ๋ยและการใช้ปุ๋ย 2)ต้นยางพาราแตกก่อนกรีดและเจริญเติบโตช้า 3) ต้นยางพาราตายก่อนเปิดกรีดและศัตรูพืช เข้าทำลาย และ 4) หน้ากรีดยางแห้ง โดยปัญหาและความต้องการองค์ความรู้ด้านเทคโนโลยีการผลิตยางพาราของเกษตรกร ทั้ง 4 ประเด็นข้างต้นสามารถสังเคระห์และสรุปเป็นชุดความรู้เทคโนโลยีได้ 4 หมวด ได้แก่ 1) ปุ๋ย การจัดการดินและที่ดิน 2) การจัดการต้นยางพารทั้งก่อนและหลังเปิด 3) การเก็บเกี่ยวและการจัดการการหลังการเก็บเกี่ยว และ 4) การจัดการ ศัตรูพืช
บทคัดย่อ (EN): Para-rubber is a new economic crop of farmer’s society in Northeastern Thailand. This study aims toidentify problems and needs for technological knowledge packages on rubber production of smallholders in Nakhon Phanom Province. The data were collected by using two times group discussion forums as a tool, together with and checklist short questionnaire with 95 participants. The results of problem on rubber production were; 1) high cost and low quality of chemical fertilizer, lack of knowledge in management of fertilizer and application, 2) trunk before tapping with slow growth, 3) death before tapping and being destroyed pest damage, and 4) tapping panel dryness. This study can be synthesized and concluded in four categories needs for technological packages were determined as follows: 1) fertilizer, soil and land management, 2) management during immaturity and maturity, 3) harvest and postharvest management, and 4) pest management.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2552
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2553
เอกสารแนบ: https://li01.tci-thaijo.org/index.php/agkasetkaj/article/view/250394/171228
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ประเด็นปัญหาและชุดความรู้เทคโนโลยีการผลิตยางพาราของผู้ปลูกยางพารารายย่อยจังหวัดนครพนม
ไม่ระบุผู้เผยแพร่
2553
เอกสารแนบ 1
เอกสารแนบ 2
การศึกษาปัญหาของเกษตรกรผู้ปลูกยางพาราในจังหวัดลำปาง สภาพการผลิตยางพาราและความต้องการการส่งเสริมของเกษตรกรผู้ปลูกยางพาราในอำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช การผลิตยางพาราในจังหวัดนครพนม ประเทศไทย และแขวงคำม่วนสปป.ลาว :การเปรียบเทียบพฤติกรรมการผลิตของผู้ปลูกรายย่อย โครงการฝึกอบรมการผลิตกล้ายางพาราและการปลูกยางพาราแบบมืออาชีพ กลยุทธ์การตลาดของเกษตรกรรายย่อยผู้ปลูกยางพาราในอำเภอโซ่พิสัย จังหวัดหนองคาย การมีส่วนร่วมในการทำสวนยางพาราของแม่บ้านเกษตรกร : ศึกษาเฉพาะกรณีกลุ่มสหกรณ์ผู้ปลูกยางพารา ตำบลเชียงเครือ อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์ การวิเคราะห์เปรียบเทียบผลตอบแทนทางการเงินของการลงทุน ระหว่างการปลูกยางพาราและการปลูกข้าว ในอำเภอศรีสงคราม จังหวัดนครพนม อิทธิพลของปุ๋ยเคมีและวัสดุปลูกที่มีผลต่อการผลิตกล้ายางพาราคุณภาพดี รูปแบบการบริหารจัดการกลุ่มวิสาหกิจชุมชนผู้ปลูกยางพารา ตำบลน้ำหมัน อำเภอท่าปลา จังหวัดอุตรดิตถ์ แนวทางการเสริมสร้างความเข้มแข็งทางธุรกิจให้แก่เกษตรกรผู้ปลูกยางพารา อำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก