สืบค้นงานวิจัย
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี Biofloc ในบ่อเลี้ยงปลาเศรษฐกิจแบบรวมและปลาพื้นเมืองภาคเหนือ
สุดาพร ตงศิริ, ประจวบ ฉายบุ, สุฤทธิ์ สมบูรณ์ชัย - มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ชื่อเรื่อง: การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี Biofloc ในบ่อเลี้ยงปลาเศรษฐกิจแบบรวมและปลาพื้นเมืองภาคเหนือ
ชื่อเรื่อง (EN): The application of biofloc technology for commercial fish in polyculture and northern native fish
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: วัตถุประสงค์ของการศึกษาเพื่อคัดเลือกสารอินทรีย์คาร์บอนที่เหมาะสมต่อการสร้างปริมาณ ไบโอ ฟล็อคสาหรับการเจริญเติบโตของปลาพื้นเมืองภาคเหนือที่ประกอบด้วยปลาหมอไทยและปลาบ้า รวมทั้งการวางตาแหน่งการให้อากาศที่เหมาะสมในการหมุนเวียนปริมาณไบโอฟล็อค ทาการศึกษาโดย นาสารอินทรีย์คาร์บอนที่ประกอบด้วยกากน้าตาลเพียงชนิดเดียว และกากน้าตาลผสมกับราละเอียด กากน้าตาลผสมกับแป้งข้าวเจ้าในสัดส่วน 50 : 50 มาเติมในบ่อเลี้ยง ซึ่งมีการควบคุมสัดส่วนของคาร์บอนต่อไนโตรเจน (C:N ratio) ที่ 15 ปล่อยปลาหมอไทยและปลาบ้าที่ความหนาแน่น 40 และ 30 ตัวต่อลูกบาศก์เมตร ให้อาหารตามโปรแกรมการให้อาหารปลาหมอไทยและปลาบ้า โดยทาการเลี้ยงระยะเวลา 6 เดือน ทาการควบคุมปริมาณออกซิเจนละลายน้าให้อยู่ในระดับไม่ต่ากว่า 5 มก./ล. ตลอดการทดลอง และเมื่อพบว่าปริมาณแอมโมเนียไนโตรเจนเกินกว่า 1 มก./ล. จึงค่อยเติมสารอินทรีย์คาร์บอนต่าง ๆ เพื่อลดปริมาณของแอมโมเนียไนโตรเจน ผลการศึกษาพบว่าเมื่อเติมสารอินทรีย์คาร์บอนที่แตกต่างกัน ไม่ส่งผลให้การเจริญเติบโตของปลากินพืชและปลากินเนื้อรายตัวที่ประกอบด้วยอัตราการแลกเนื้อ การเจริญเติบโตสุดท้าย อัตราการเจริญเติบโตเฉลี่ยต่อวัน อัตราการเจริญเติบโตจาเพาะและอัตราการรอดตายแตกต่างกัน (P>0.05) นอกจากนี้ปริมาณความเข้มข้นของไบโอฟล็อคในบ่อเลี้ยงก็ไม่แตกต่างกัน (P>0.05) สาหรับการวางตาแหน่งการให้อากาศแตกต่างกันก็ไม่ได้ส่งผลให้เกิดปริมาณไบโอฟล็อคแตกต่างกัน จากการศึกษานี้ชี้ให้เห็นว่า การนาสารอินทรีย์คาร์บอนอื่น ๆ เช่น ราละเอียดและแป้งข้าวเจ้า สามารถนามาใช้ร่วมกับกากน้าตาลในการสร้างปริมาณไบโอฟล็อคเพื่อเป็นทางเลือกของการเลี้ยงปลาพื้นเมืองภาคเหนือต่อไป คาสาคัญ : สารอินทรีย์คาร์บอน การเลี้ยงปลาพื้นเมืองภาคเหนือ ไบโอฟล็อค
บทคัดย่อ (EN): This study aimed to examine the appropriate organic carbon sources to produce biofloc concentration for climbing perch and mad carp, growth performances and the appropriate aeration position for mixed the water through culture period. The individual molasses, molasses combined with wheat flour and molasses combined with rice bran in 50 : 50 ratio were designed for three organic carbon sources. The carbon and nitrogen ratio (C : N ratio) was control with 15 ratio in value through culture period. The stocking density of climbing perch and mad carp was defined with 40 and 30 fishes per m2. Theirs were fed under climbing perch and mad carp feeding program respectively. The experiments were conducted within 6 months respectively. The water quality particularly dissolved oxygen (DO) was maintained at least 5 ppm and when the ammonia was reached 1 ppm external carbon sources were prepared and computed and diluted in the water immediately. The results showed there were non-significance difference within weight gain, average daily weight gain, feed conversion ratio, specific growth and survival rate among three carbon sources (P>0.05). Moreover, there was non significance on the concentration of biofloc from difference carbon sources. Finally, this result showed that the combination of molasses and rice bran, wheat flour could be induce bioflioc in many fish species culture. Keywords : Carbon sources, Fish polyculture, Biofloc
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2557-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2559-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยแม่โจ้
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี Biofloc ในบ่อเลี้ยงปลาเศรษฐกิจแบบรวมและปลาพื้นเมืองภาคเหนือ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
30 กันยายน 2559
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีBioflocในบ่อเลี้ยงปลาเศรษฐกิจแบบรวมและปลาพื้นเมืองภาคเหนือ การเลี้ยงปลาหมอไทยแปลงเพศผสมผสานกับปลาเศรษฐกิจชนิดอื่น ๆ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีไบโอฟล็อคในบ่อเลี้ยงปลาเศรษฐกิจแบบรวมและปลาพื้นเมืองภาคเหนือ ปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับเทคโนโลยีการเลี้ยงปลาดุกในบ่อดินของเกษตรกรจังหวัดพระนครศรีอยุธยา แหล่งและฤดูวางไข่ของปลาเศรษฐกิจในจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ การศึกษาความสมบูรณ์เพศของปลาน้ำจืดเศรษฐกิจในหนองเบน อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น การใช้กากถั่วเหลืองทดแทนปลาป่นในอาหารเลี้ยงปลาเทโพ (เปลี่ยนชื่อโครงการ การใช้โปรตีนจากกากถั่วเหลืองทดแทนโปรตีนจากปลาป่นในอาหารเลี้ยงปลาเทโพ) ความชุกชุมของปลาบริเวณปะการังเทียม จังหวัดนราธิวาส การใช้เทคโนโลยีการปลูกงาในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง ภาคเหนือ และภาคตะวันตก ปี 2538 การศึกษาถึงปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับเทคโนโลยีในการแปรรูปอาหาร ของแม่บ้านเกษตรกรในภาคเหนือ

แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก