สืบค้นงานวิจัย
ผลของยีน IGF-II ต่อลักษณะการเจริญเติบโตและคุณภาพซากในสุกรพันธุ์กระโดน
เกศรา อำพาภรณ์ - มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ชื่อเรื่อง: ผลของยีน IGF-II ต่อลักษณะการเจริญเติบโตและคุณภาพซากในสุกรพันธุ์กระโดน
ชื่อเรื่อง (EN): The effects of IGF-II gene on growth trait and carcass quality in Kradon pigs
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: เกศรา อำพาภรณ์
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Kessara Ampaporn
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย (EN):
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหารูปแบบจีโนไทปี ความถี่อัลลีล ความถี่จีโนไทป์ และอิทธิพลของยีน IGF-II ต่อลักษณะการเจริญเติบโต และคุณภาพซากของสุกรพันธุ์กระโดน เก็บตัวอย่างเลือดจากสุกรพันธุ์กระโดน จำนวน 24 ตัว เพื่อตรวจจีโนไทป์ของยืน IGF-I! ด้วยเทคนิค PCR-RFLP ที่ตัดด้วยเอนไซม์ Bcn! ผลการศึกษาพบว่า ยีน IGF-I ในสุกรพันธุ์กระโดนมีจีโนไทป์ จำนวน 3 รูปแบบ โดยจีโนไทป์ GG (0.63) พบความถี่สูงกว่าจีโน่ไทป์ GC (0.21) และจีโนไทปี CC (0.17 สุกรพันธุ์กระโดนมีความถี่อัลลีล G (0.73) สูงกว่าความถี่อัลลีล C (0.27) ยีน IGF-I! มีอิทธิพลต่อลักษณะความหนาไขมันสันหลังที่ตำแหน่งซี่โครงซี่ที่ 10 (back fat depth at 10" rib) และซี่สุดท้าย (back fat depth at last rib) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) โดยสุกรที่มีจีโนไทปี CC มีความหนาไขมันสันหลัง น้อยที่สุด และยืน IGF-I! มีอิทธิพลต่อเปอร์เซ็นต์ผิวหนังและไขมันใต้ผิวหนัง (skin and subcutaneous fat) สุกรที่มี จีโนไท CC มีเปอร์เซ็นต์ผิวหนังและไขมันใต้ผิวหนังน้อยที่สุด (P<0.05) ดังนั้น หากต้องการคัดเลือกสุกรพันธุ์กระโดน เพื่อให้มีไขมันน้อยลงด้วยยีน IGF-I ควรคัดเลือกสุกรที่มีจีโนไทป์ CC หรือ GC
บทคัดย่อ (EN): The aims of this study were to investigate the genotype pattern, allele, genotype frequency, and effects of IGF-II gene on the growth traits and carcass traits in Kradon pigs. Blood sampling from 24 Kradon pigs were conducted for genotype of IGF-II gene, using the PCR-RFLP technique. BcnI enzyme was use to cut specific DNA region. The results showed that Kradon pigs represented 3 genotype patterns of IGF-II gene including GG genotype (0.63), GC genotype (0.21) and CC genotype (0.17), the GG genotype had higher genotype frequency than GC and CC genotype, respectively, allele frequency of G allele (0.73) higher than C allele (0.27). The genotype patterns had effects on back fat depth and percentage of skin and subcutaneous fat composition. CC genotype pigs had thinnest back fat depth at 10th rib and the last rib. Also, the CC genotype had the lowest percentage of skin and subcutaneous fat. Thus, if we want to improve Kradon pigs with low carcass fat, the CC and GC of IGF-II gene are the selection criteria.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2560
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2561
เอกสารแนบ: https://ag2.kku.ac.th/kaj/PDF.cfm?filename=12_106_60_Kessara.pdf&id=3269&keeptrack=1
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ผลของยีน IGF-II ต่อลักษณะการเจริญเติบโตและคุณภาพซากในสุกรพันธุ์กระโดน
ไม่ระบุผู้เผยแพร่
2561
เอกสารแนบ 1
เอกสารแนบ 2
ความสัมพันธ์ของยีน MC4R ต่อลักษณะทางเศรษฐกิจในสุกร ผลการเสริมผลิตภัณฑ์สารสกัดหยาบจากใบฝรั่งในอาหาร ต่อสมรรถภาพการเจริญเติบโตและลักษณะคุณภาพซากของสุกร ศึกษาลักษณะสัณฐานวิทยาของมะม่วงพันธุ์ต่างๆ ผลของการเคลือบก้อนพอกด้วยสารป้องกันโรคพืชที่มีผลต่อคุณภาพเมล็ดพันธุ์และการเจริญเติบโตของต้นกล้ายาสูบ ผลการเสริมฟ้าทะลายโจร ขมิ้นชัน และขิงในอาหารต่อสมรรถภาพการ เจริญเติบโตและคุณภาพซากของไก่กระทง การศึกษาสมรรถภาพการเจริญเติบโต คุณภาพซาก และองค์ประกอบของไขมันในเนื้อของไก่พื้นเมืองอินทรีย์ ศึกษาการเจริญเติบโต ผลผลิตและองค์ประกอบของผลผลิตแตงกวา 4 สายพันธุ์ ผลของลิวซีนในอาหารไก่เนื้อต่อสมรรถภาพการเจริญเติบโต และการสะสมไขมันในซาก ผลของความเข้มข้นของโคลชิซีนต่อการเจริญเติบโต ของต้นกล้าสับปะรดพันธุ์ปัตตาเวีย ผลของการใช้แหล่งโปรตีนจากไส้เดือนป่นต่อสมรรถนะการเจริญเติบโตและคุณภาพซากของไก่เนื้อ

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก