สืบค้นงานวิจัย
การศึกษาการแสดงออกของกลุ่มยีนที่ตอบสนองต่อการกระตุ้นด้วยเอทธีลีนของยางพารา
สิทธิโชค ตั้งภัสสรเรือง - สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
ชื่อเรื่อง: การศึกษาการแสดงออกของกลุ่มยีนที่ตอบสนองต่อการกระตุ้นด้วยเอทธีลีนของยางพารา
ชื่อเรื่อง (EN): Transcriptome Analysis of Ethylene response in Hevea brasiliensis
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: สิทธิโชค ตั้งภัสสรเรือง
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: Ethylene เป็นฮอร์โมนพืชเกษตรกรสวนยางใช้เร่งน้ำยางกันอย่างแพร่หลาย ในพันธุ์ยางพาราที่ให้ผลผลิตต่ำ (PB217) มีการตอบสนองต่อ Ethylene โดยยางพาราที่ได้รับการกระตุ้นด้วย Ethylene จะให้ผลผลิตที่สูงขึ้นมาก ในขณะที่ยางพาราพันธุ์ที่ให้ผลผลิตน้ำยางสูง (PB260) มีการตอบสนองต่อ Ethylene ที่น้อยมาก งานวิจัยนี้เป็นการเปรียบเทียบ Transcriptome ของยางพาราทั้งสองสายพันธุ์ ในการตอบสนองต่อ Ethylene ที่เวลาต่างๆ ภายใน 24 ชั่วโมง ทีมวิจัยเสนอที่จะศึกษากลุ่มยีนที่มีการแสดงออกในน้ำยางที่แตกต่างกันเพื่อศึกษากลไกการควบคุมลักษณะการสร้างน้ำยาง และการตอบสนองต่อ Ethylene</p>
บทคัดย่อ (EN): Ethylene is a plant hormone that is used to stimulate latex production in rubber tree. Rubber tree genotypes with low latex production respond to Ethylene by producing significantly higher latex yield. However those genotypes with high latex production can be stimulated with a small increase in latex yield in response to ethylene. In this project, we propose to study gene expression profiles of rubber trees with low and high latex production (PB217 and PB260, respectively) in response to ethylene within the first 24 hours after treatment. This should reveal different gene regulation networks in PB217 and PB260 in response to ethylene.</p>
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2558
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2559
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-SA 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การศึกษาการแสดงออกของกลุ่มยีนที่ตอบสนองต่อการกระตุ้นด้วยเอทธีลีนของยางพารา
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
2559
กลุ่มวิจัยยางพารา การศึกษาเบื้องต้นในการส่งถ่ายยีนเข้าสู่ยางพาราด้วยเทคนิค Agrobacterium transformation การยับยั้งอย่างจำเพาะเจาะจงต่อการแสดงออกของยีน Rubber Elongation Factor (REF) ที่เกี่ยวข้องกับการสร้างโปรตีนก่อภูมิแพ้ในยางพาราด้วยเทคโนโลยีแอนติเซน การเก็บรักษาคัพภะยางพาราในสภาพอุณหภูมิต่ำในหลอดทดลอง การศึกษาการแสดงออกของยีนทั้งระบบเพื่อค้นหายีนที่มีความเกี่ยวข้องกับผลผลิตน้ำยางสำหรับการปรับปรุงพันธุ์ยางพาราที่ให้ผลผลิตสูง การศึกษายีนต้านทานโรคในยางพาราเพื่อการปรับปรุงพันธุ์ยาง ผลของเอทธิลีนต่อการให้ผลผลิตของยางพาราพันธุ์ RRIM 600 และ BPM 24 การวิเคราะห์ปริมาณการแสดงออกของยีน cinnamyl-alcoholdehydrogenase (CAD) ในยางพันธุ์ พยากรณ์ราคายางพารา โครงการฝึกอบรมการผลิตกล้ายางพาราและการปลูกยางพาราแบบมืออาชีพ

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-SA 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก