สืบค้นงานวิจัย
ความต้องการรับการถ่ายทอดเทคโนโลยีองค์ความรู้ด้านการเลี้ยงไก่พื้นเมืองของเกษตรกรในพื้นที่รอบโครงการพัฒนาปลวกแดงตามพระราชดำริจังหวัดระยอง-ชลบุรี
นิธิศ จิตนิยม - กรมปศุสัตว์
ชื่อเรื่อง: ความต้องการรับการถ่ายทอดเทคโนโลยีองค์ความรู้ด้านการเลี้ยงไก่พื้นเมืองของเกษตรกรในพื้นที่รอบโครงการพัฒนาปลวกแดงตามพระราชดำริจังหวัดระยอง-ชลบุรี
ชื่อเรื่อง (EN): The need for technology transfer of native chicken farming knowledge in the area around the royal initiated Pluakdaeng development project of Rayong-Chonburi provinces.
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: นิธิศ จิตนิยม
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: การศึกษาครั้งมีวัตถุประสงค?เพื่อศึกษาสภาพพื้นฐานทั่วไปของเกษตรกรผู?เลี้ยงไก?พื้นเมืองความ ต?องการรับการถ?ายทอดเทคโนโลยีด?านการเลี้ยงไก?พื้นเมือง ตลอดจนป?จจัยที่เกี่ยวข?องกับความต?องการรับการ ถ?ายทอดเทคโนโลยีองค?ความรู?ด?านการเลี้ยงไก?พื้นเมืองของเกษตรกรผู?เลี้ยงไก?พื้นเมือง ในพื้นที่อําเภอปลวก แดง จังหวัดระยอง จํานวน 216 ราย เก็บข?อมูลโดยใช?แบบสอบถามและวิเคราะห?ข?อมูล โดยโปรแกรม คอมพิวเตอร?สําเร็จรูป เพื่อหาค?าร?อยละ ค?าเฉลี่ย ส?วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห?ข?อมูลโดยโปรแกรม คอมพิวเตอร? ผลการวิจัยพบว?า (1) เกษตรกรส?วนใหญ?เป?นเพศชาย มีอายุเฉลี่ย 51.23 ป? จบการศึกษาระดับถม ศึกษามีสมาชิกในครอบครัวเฉลี่ย 5.03 คน อาชีพเกษตรกรรม ทุกรายเป?นสมาชิกกลุ?ม มีประสบการณ?การ เลี้ยงไก?เฉลี่ย 11.90 ป? ได?รับการอบรมเกี่ยวกับการเลี้ยงไก?อย?างน?อย 1 ครั้ง สื่อในครัวเรือนมีโทรทัศน? วิทยุ วี ซีดี สื่อในชุมชนมีหอกระจายข?าวและผู?นํากลุ?ม แหล?งเงินทุนและที่ดินใช?ของตนเอง ขนาดพื้นที่ในการเลี้ยง เฉลี่ย 800.50 ตารางเมตร (2) วัตถุประสงค?หลักเพื่อจําหน?ายเนื้อ ใช?แรงงานในครัวเรือนเฉลี่ย 2.38 คน พันธุ? ไก?ที่เลี้ยง ได?แก? ไก?ไทยผสมไซ?ง?อน ไก?ไทยผสมพม?า และไก?พันธุ?พื้นเมืองไทย แหล?งที่มาได?จากการขยายพันธุ? และการสนับสนุนจากกลุ?มจํานวนไก?พ?อพันธุ?เฉลี่ย 16.05 ตัว จํานวนไก?แม?พันธุ?เฉลี่ย 35.94 ตัว การผสมพันธุ? ใช?พ?อพันธุ?ตัวเดิมผสม 1-2 ครั้ง ส?วนใหญ?ขึ้นทะเบียนประวัติ มีการบันทึกข?อมูล ใช?อาหารที่มีในท?องถิ่น ใช?ยา ปฏิชีวนะร?วมกับสมุนไพร รายได?จากการเลี้ยง เฉลี่ย 32,450 บาท รายจ?ายจากการเลี้ยง เฉลี่ย 8,200 บาท โรงเรือนและอุปกรณ? เกษตรกรมีการสร?างโรงเรือน มีตาข?ายคลุม อยู?บริเวณน้ําท?วมไม?ถึง ห?างที่พัก ห?างบริเวณ ใช?ยาฆ?าศัตรูพืช ห?างเสียงรบกวน มีไฟฟ?าส?องสว?าง มีที่บังลมบังแดด มีรังไข?เพียงพอ การสุขาภิบาล มีการทํา ความสะดวกโรงเรือนและพื้นด?วยน้ํายาฆ?าเชื้อ เปลี่ยนน้ําและทําความสะอาดภาชนะทุกวัน เปลี่ยนที่รองพื้น บ?อย ๆ หมั่นดูแลสุขภาพไก? มีการคัดไก?ที่ป?วยออกเพื่อสังเกตอาการ มีพื้นที่ให?ไก?ออกกําลังกาย มีการกําจัด แหล?งน้ํารอบ ๆ โรงเรือน มีการกักไก?ก?อนนําเข?าฝูง ไม?ใช?น้ําจากแหล?งสาธารณะ มีการถ?ายพยาธิ ฉีดวัคซีนให? ไก? (3) ความต?องการการรับถ?ายทอดเทคโนโลยีในเรื่องพันธุ? การคัด และการปรับปรุงพันธุ? โรงเรือนและ อุปกรณ? อาหาร ยาที่ใช?รักษา การสุขาภิบาล พบว?าเกษตรกรต?องการระดับมากที่สุดคือ วีซีดี แผ?นพับ สื่อ บุคคลของเอกชน สื่อบุคคลของทางราชการ คู?มือ ระดับมากคือ โทรทัศน? ระดับปานกลางคือ วิทยุ โปสเตอร? สถาบันการศึกษา น?อยที่สุดคือ อินเตอร?เน็ต วิธีการส?งเสริม พบว?าเกษตรกรต?องการมากที่สุดคือ การสาธิต การฝ?กปฏิบัติ การทัศนศึกษา ระดับน?อยคือ การบรรยาย น?อยที่สุดคือ การทดลองเลี้ยง
บทคัดย่อ (EN): This study aims to study the basis of farmers turn chicken demand for technology transfer in native chicken .An well as factors deal with the demand for hight- technology,knowledge of native birds .local Pluark Daeng,Rayong district,216 data were collected by qucstionnaire and anaiyzed.the computer program to find out the percentage ,standard deviation and analyzed by a computer program The result of the research found that (1) majority of farmers were male, average 51.23 years of age, primary education, average members in household 5.03 persons, farmer profession, belong to group members, average experiences of native chicken farming 11.90 years, once a year in native chicken farming training, media in farmer household were TV, radio and VCD/DVD, distribution news station and group leader were community media, hus own land and own fund for native chicken farming, average size of farming 800.50 square meter average income 32,450 bath/year. (2012), average expenses 8,200 baht/year (2012) (2) Main objective of native chicken farming for selling chicken. Average labor in household 2.38 persons, chicken variety were Thai mixed Saigon, Thai mixed Myanmar, and Thai native chicken, variety sources came from breeding and group support, average cock 16.05, average hen 35.94, the cock breeding 1-2 times, has chicken registration and data record. The food feeding came from local, use antibiotic mixed herb, (3) The need of agricultural extension were chicken variety, selection and improvement, chicken house and equipment, food feeding medicine, management and sanitation. The media for serve the need of agricultural extension were VCD, Folder, and Personal media. The procedure of agricultural extension were the demonstration, practice, study tour and the lecture. The least need was the feeding trial.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2555-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2556-09-30
เผยแพร่โดย: กรมปศุสัตว์
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ความต้องการรับการถ่ายทอดเทคโนโลยีองค์ความรู้ด้านการเลี้ยงไก่พื้นเมืองของเกษตรกรในพื้นที่รอบโครงการพัฒนาปลวกแดงตามพระราชดำริจังหวัดระยอง-ชลบุรี
กรมปศุสัตว์
30 กันยายน 2556
กรมปศุสัตว์
ผลของสถานที่ การศึกษา สายพันธุ์ และวัตถุประสงค์การผลิตในการเลี้ยงไก่พื้นเมืองต่อรายได้ของเกษตรกรในวังทอง เมือง บางระกำ และอำเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก ปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาข้าราชการกรมประมง ศึกษาสภาวะการติดเชื้อ Brachyspira ในไก่ การศึกษาการใช้เทคโนโลยีในการเลี้ยงโคเนื้อของเกษตรกรภายใต้โครงการศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล จังหวัดระยอง การศึกษาภูมิปัญญาการเลี้ยงไก่พื้นเมืองในประเทศไทย เกษตรประณีต : องค์ความรู้และการพัฒนาเกษตรกรต้นแบบ การพัฒนาเทคโนโลยีวนเกษตรระดับสถานีวิจัยเพื่อการถ่ายทอดองค์ความรู้เชิงบูรณาการ การใช้ความรู้และเทคโนโลยีในการผลิตไก่พื้นเมืองของเกษตรกรในจังหวัดเพชรบุรี การถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาองค์ความรู้การจัดการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าชายเลนที่เหมาะสมและยั่งยืนในพื้นที่ดินเลนงอกใหม่ให้กับชาวประมงบ้านแหลม ตำบลท่าศาลา อำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช การทดสอบและสาธิตการเลี้ยงไก่ลูกผสมพื้นเมือง-เซี่ยงไฮ้เพื่อการค้า
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก