สืบค้นงานวิจัย
ผลของอาหารหยาบคุณภาพดีต่อคุณภาพเนื้อและสัดส่วนของกรดไขมันในเนื้อโค
พิพัฒน์ เหลืองลาวัณย์ - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
ชื่อเรื่อง: ผลของอาหารหยาบคุณภาพดีต่อคุณภาพเนื้อและสัดส่วนของกรดไขมันในเนื้อโค
ชื่อเรื่อง (EN): Effect of high quality roughages on meat quality characteristics and fatty acid composition in beef cattle
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: พิพัฒน์ เหลืองลาวัณย์
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย: วิศิษฐิพร สุขสมบัติ
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: การศึกษาผลของอาหารหยาบคุณภาพดีต่อคุณภาพเนื้อและสัดส่วนของกรดไขมันในเนื้อโค โดขแบ่งออกเป็น 2 การทดลอง ดังนี้ การศึกษาชนิดและปริมาณกรดไขมันใบเนื้อได โดยจัดแผนการ ทดลองแบบ Completely randomized design (CRD) ทำการเก็บตัวอย่างเนื้อ โคพื้นเมืองที่มีอายุ ประมาณ 2 ปี มีน้ำหนักระหว่าง 200 - 250 กิโลกรัม, เนื้อไดลูกผสมบราห์มันที่มีอายุประมาณ 3 ปี และมีน้ำหนักตัวประมาณ 450 กิโลกรัม และเนื้อไดลูกผสมยุโรปที่มีอายุประมาณ 3 ปี และมีน้ำหนัก ตัวประมาณ 550 - 650 กิโลกรัม จำนวน 96 ตัวอย่าง จากตลาดสดในเขตจังหวัดนครราชสีมา พบว่า เปอร์เซ็นต์โปรตีนในเนื้อใดไม่แตกต่างกันทั้ง3ชนิแต่เนื้อโคพื้นเมืองมีเปอร์เซ็นด์ไขมันและ เปอร์เซ็นต์ความชื้ต่ำและพบว่าองค์ประกอบของกรดไขมันในเนื้อไดลูกผสมบราห์มันและเนื้อไก ลูกผสมยุโรปมีปริมาณกรดไขมันชนิด SFA สูงกว่าเนื้อโดพื้นเมือง ในส่วนของกรดไขมันชนิด MUFA เนื้อโคทั้ง 3 ชนิดแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ ส่วนของกรดไขมันชนิด PUFA เนื้อโคพื้นเมืองมีปริมาณการสะสมของกรดไขมันชนิด PUFA สูงกว่าเนื้อโคลุกผสมยุโรป แต่ไม่ แตกต่างกันกับเนื้อโดลูกผสมบราห์มันและกรดไขมันประเภท :- ในเนื้อโดพื้นเมืองและเนื้อโค ลูกผสมยุโรป มีค่าต่ำกว่าเนื้อไดลูกผสมบราห์มัน แต่อย่างไรก็ตามพบว่าเนื้อโคพื้นเมืองมีกรดไขมัน ชนิด 3 เนื้อโคสูงที่สุด และเนื้อโดพื้นเมืองมีการสัดส่วนของกรดไขมัน *-6๒-3 เนื้อโคต่ำกว่าเนื้อ โคลูกผสมบราห์มันและเนื้อ ไคลูกผสมยุโรปตามลำดับ ผลของอาหารหยาบคุณภาพดีต่อคุณภาพเนื้อ องค์ประกอบทางเคมีและการเปลี่ยนแปลง สัดส่วนของกรดไขมันในเนื้อโด โดยเปรียบเทียบต่ำความแตกต่างของค่าเฉลี่ยโดยใช้ Pair -test ใช้ โกเนื้อ (พันธุ์บราห์มัน-พื้นเมือง) จำนวน 20 ตัว แบ่งเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มที่ได้รับอาหารขันปริมาณ สูงร่วมกับฟางข้าว (High Concentrate with Rice Straw: HCRS) และกลุ่มที่ด้รับอาหารข้นปริมาณ ต่ำร่วมกับหญ้าสด (Low Concentrate with Fresh Grass: LCFG) พบว่าการกินได้วัตถุแห้ง ไปรตีน และพลังงานสุทธิเพื่อการเจริญเติบโตแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ เช่นเดียวกันกับ น้ำหนักตัว อัตราการเจริญเติบโต เปร์เซ็นต์ซาก คุณภาพซาก และ องค์ประกอบทางเคมีของเนื้อโค แต่อย่างไรก็ตามพบว่ากล้ามเนื้อส่วน Semimembronosts (SM) ในโคเนื้อได้รับ LCFG สามารถเพิ่ม ปริมาณกรดไขมันชนิด -3 และลดสัดส่วนของกรดไขมัน 1-6/ซ-3 ในเนื้อไคได้ทั้ง Longissimus dorsi (LD) และ SM อย่างมีนัยสำคัญยิ่งทางสถิติ (P<0.01)
บทคัดย่อ (EN): The objective of this study was to investigate the effects of high quality roughage on meat quality and fatty acids composition in beef cattle. The experiment was divided into 2 experiments, types and levels of fatty acid in meat. The experiment was conducted as completely randomized designs (CRD). Nighty six beef sample from Thai-Native cattle (NB), averaging 2 years old, 200- 250 kg body weight (BW); Brahman crossbred cattle (BC), averaging 3 years old, 450 kg BW and European crossbred cattle (EB), averaging 3 years old, 550-650 kg BW from local fresh food markets in Nakhon Ratchasima. The results showed that the protein was no different both three species of beef cattle, whereas the beef from NB had the fat and moisture lower. Beef from BC and EB were higher fatty acids composition (SFA) than NB, while MUFA of all cattle species with the BC, EB and NB remained unchanged among the treatments. NB have higher PUFA than EB; no significant differences were found for the BC. NB and EB were lower n-6 than BC. However, the highest quantity of fatty acid n-3 was observed in NB. NB found that the proportions of fatty acids n-6/n-3 in meat lower than the BC and EB respectively. The results of the effects of high quality roughage on meat quality, chemical composition and fatty acids profile in beef cattle by using paired t-test, twenty Brahman crossbred cattle divided with 10 cows in 2 group. The first group received high level concentrate with rice straw, the 2" group received low level concentrate with fresh grass as roughage. When cattle were fed both two groups, no significant differences were found for DM, CP and NEt, intakes among groups and also BW, growth rate, carcass and meat quality. Therefore, cattle were fed the low level concentrate with fresh grass increased the fatty acids n-3 in Semimembranosus (SM) and decreased the proportion of fatty acids n-6 / n-3 both Longissimus dorsi (LD) and SM.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2554-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2556-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ผลของอาหารหยาบคุณภาพดีต่อคุณภาพเนื้อและสัดส่วนของกรดไขมันในเนื้อโค
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
30 กันยายน 2556
วิถีชีวิตแบบสโลว์ฟูดส์… เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี ผลของระดับโปรตีนในอาหารข้นสำหรับโคนม (1) ในสภาพการให้อาหารหยาบคุณภาพดี การศึกษาคุณภาพเนื้อไก่ลูกผสมพื้นเมือง (ชี) ผลของระดับโปรตีนในอาหารข้นสำหรับโครีดนม (2) ในสภาพการให้อาหารหยาบคุณภาพต่ำ การศึกษาการปรับเปลี่ยนอาหาร เพื่อเพิ่มปริมาณกรดลิโนลิอิคในเนื้อของแพะเนื้อ ผลของสัดส่วนของกรดไขมันโอเมก้า-6 ต่อโอเมก้า-3 (n-6:n-3)ในอาหารต่อประสิทธิภาพในการให้ผลผลิตและองค์ประกอบของไขมันในเนื้อแพะ สัดส่วนกรดไขมัน n3:n6 ที่เหมาะสมในอาหารต่อการเจริญเติบโตของปลาสวายโมงขนาดเล็ก การใช้จุกสับปะรดเสริมอาหารหยาบสำหรับโครีดนมในฟาร์มเกษตรกรรายย่อย ผลการทดลองขุนโคเนื้อ การศึกษาผลของระดับและประเภทของไขมันในอาหารต่อการ เจริญเติบโตและคุณภาพ ของเนื้อปลาโมง (Pangasuis bocourti) และปลาโมงลูกผสม

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก