สืบค้นงานวิจัย
ชนิดและปริมาณสารเคมีที่ให้ความเป็นกรดที่มีต่อเชื้อบริสุทธิ์เริ่มต้นสำหรับใช้ในการผลิตแหนม
สุธยา บุญถนอม - มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ชื่อเรื่อง: ชนิดและปริมาณสารเคมีที่ให้ความเป็นกรดที่มีต่อเชื้อบริสุทธิ์เริ่มต้นสำหรับใช้ในการผลิตแหนม
ชื่อเรื่อง (EN): Types and Quantity of Chemical Acidulants Affecting on Starter Cultures for Nham Production
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: สุธยา บุญถนอม
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Suthaya Boonthanom
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย (EN):
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: สารเคมีที่ให้ความเป็นกรด 2 ชนิด คือ กลูโคโนเดลตาแลคโตน (GDL) และกรดแลคติค ได้นำมาใช้ในการศึกษาถึงผลของสารดังกล่าวที่มีต่อเชื้อบริสุทธิ์เริ่มต้นที่ใช้ในการผลิตแหนม โดยศึกษาในอาหารเลี้ยงเชื้อ (Model system) และแปรที่ระดับความเข้มข้นร้อยละ 0.25 0.50 0.75 และ 1.00 เปรียบเทียบกับชุดควบคุมในระยะเวลาการหมัก 48 ชั่วโมงสำหรับ Micrococcus varians (ATCC 15306) และ 24 ชั่วโมงสำหรับ Lactobacillus plantarum (NHI 1100) และ Pediococcus cerevisiae (NZ DRI) จากการทดลองพบว่ากรดแลคติคมีผลกระทบต่อการเจริญเติบโตและการทำกิจกรรมของเชื้อทั้ง 3 สายพันธุ์มากกว่า GDL โดยเฉพาะอย่างยิ่ง M. varians นอกจากนี้ยังพบว่า GDL ความเข้มข้นร้อยละ 0.25 เป็นระดับที่มีผลกระทบต่อเชื้อดังกล่าวน้อยที่สุด และเหมาะสมที่จะนำไปใช้ในการผลิตผลิตภัณฑ์แหนมเพื่อเพิ่มความปลอดภัยในการบริโภคต่อไป
บทคัดย่อ (EN): Chemical acidulants, glucono-deita-lactone (GDL) and lactic acid, were varied to different levels such as 0.25%, 0.50%, 0.75% and 1.00% compared with each control to study their effects on Nham's starter cultures in model system. The fermentation time is 48 hours for Micrococcus varians (ATCC 15306) and 24 hours for Lactobacillus plantarum (NHI 1100) and Pediococcus cerevisiae (NZ DRI). It was found that the effect of lactic acid was higher than GDL's. Not only to their growths but their activities also. especially to M. varians. Further more, these effects depended on chemical acidulant concentration in fact that 0.25% GDL had the least effect. So, it should be the most suitable treatment for Nham as it lead to more safty for consumtion.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2536
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2537
เอกสารแนบ: https://li01.tci-thaijo.org/index.php/joacmu/article/view/247556/169379
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ชนิดและปริมาณสารเคมีที่ให้ความเป็นกรดที่มีต่อเชื้อบริสุทธิ์เริ่มต้นสำหรับใช้ในการผลิตแหนม
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2537
เอกสารแนบ 1
เอกสารแนบ 2
น้ำตาลที่เหมาะสมต่อการผลิตแหนมโดยใช้เทคโนโลยีเชื้อบริสุทธิ์เริ่มต้นผสม ผลของเชื้อบริสุทธิ์ต่อคุณภาพของแหนมที่ผลิตในฤดูร้อน ผลของโซเดียมไนเตรทและโซเดียวไนไตรท์ต่อคุณภาพแหนมที่ผลิตโดยใช้ Glucono-delta-lactone ร่วมกับเชื้อบริสุทธิ์เริ่มต้นผสม จลศาสตร์ของเชื้อบริสุทธิ์แลคติคแอซิดแบคทีเรียสำหรับใช้ในการผลิตแหนม การใช้สารเคมีที่ให้ความเป็นกรดร่วมกับเชื้อบริสุทธิ์เริ่มต้นผสมในผลิตภัณฑ์แหนม การใช้สารเคมีควบคุมวัชพืชสาบเสือ (Chromolaena Odorata) การใช้สารเคมีกับกาแฟอราบีก้าเพื่อความทนแล้ง ผลของสารเคมีต่อคุณภาพหลังการเก็บเกี่ยวของดอกอัลสโตรมีเรีย ผลของการเก็บรักษา พันธุ์ และการใช้สารเคมีต่อคุณภาพของแกลดิโอลัส การใช้สารเคมีและวัสดุหีบห่อยืดอายุการเก็บไส้กรอกพื้นบ้าน (ไส้อั่ว)

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก