สืบค้นงานวิจัย
การควบคุมประชากรผักตบชวาแบบบูรณาการ เพื่อการพัฒนากว๊านพะเยาอย่างยั่งยืน
วิพรพรรณ์ เนื่องเม็ก - มหาวิทยาลัยพะเยา
ชื่อเรื่อง: การควบคุมประชากรผักตบชวาแบบบูรณาการ เพื่อการพัฒนากว๊านพะเยาอย่างยั่งยืน
ชื่อเรื่อง (EN): Sustainable Integrated management for control water hyacinth in Kwan Phayao
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: วิพรพรรณ์ เนื่องเม็ก
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: การศึกษานี้เป็นการศึกษาการยืดตัวของผักตบชวาในกวีานพะเยา สำหรับการนำมาใช้เป็น วัตถุดิบในการทำหัตถกรรมเครื่องจักสาน โดยทำการใส่ปริมาณผักตบชวาในกรอบที่ทำจากท่อพีรีซี ขนาด 1 ตารางเมตร ซึ่งจะใส่เต็มกรอบ 2 และ 1/4 ของกรอบ ตั้งแต่เตือนสิงหาคม 2555 ถึงเดือน พฤษภาคม 2556 พบว่า ในกรอบที่มีผักตบชวาอยู่เต็มนั้น กัานใบะเกิดการยืดตัวยาวขึ้นในทุกสัปดาห์ จนมีความยาวของกัานใบเฉลี่ยสูงสุด 40 เซนติเมตร และมีจำนวนใบเพิ่มจากตอนเริ่มต้น โดยมีจำนวน ใบเฉลี่ย 9 ใบต่อต้นเมื่อทำการทดลองไปได้ 6 เดือน ขณะที่กรอบที่มีปริมาณผักตบชวา 1 และ 14 ของ พื้นที่กรอบ จะมีลักษณะของกัานใบที่พองออกเป็นหุ่นลอยน้ำ และเกิดการแทงไหลออกมาจากตัน ผักตบชวาในสัปดาห์ที่ 4 ของการทดลอง โดยจำนวนผักตบชวาทั้ง 2 กรรมวิธีนี้จะเต็มกรอบ ในเดือนที่ 3 และ 6 ตามลำดับ และก้านใบจะเกิดการยืดตัวจนมีความยาวของก้านใบสูงสุดเมื่อทำการทดลองไป ได้ 8 และ 10 เดือน ตามลำดับ โดยมีความยาวของก้านใบเฉลี่ยอยู่ที่ 45 และ 50 เซนติเมตร ตามลำตับ และจำนวนใบเฉลี่ยที่ 11 และ 12ใบ ตามลำดับ ซึ่งความยาวของผักตบชวาที่ได้จาก การศึกษายังไม่สามารถนำมาทำหัตถกรรมเครื่องจักสานได้ เพราะความยาวที่จะใช้เป็นวัต ถุดิบในการ จักสานต้องมีความยาวไม่น้อยกว่า 80 เซนติเมตร สารสกัดผกากรองและเนียมหูเสือที่สกัดด้วยน้ำกลั่นสามารถทำลายใบและก้นใบของ ผักตบชวาได้ ขณะที่การสกัดบัวตองด้วยเอทิลอะซิตทมีผลในการกำจัดผักตบชวาเช่นกัน โดยเฉพาะ อย่างยิ่งที่ระดับความเข้มข้น 500 PPm สามารถทำลายใบอ่อนของผักตบชวาได้ 100% ภายใน 6 วัน และทำลายก้านอ่อนของผักตบชวาได้ 100% ภายใน 2 วัน เมื่อเพิ่มความเข้มชันเป็น 1,000 ppm สามารถทำลายใบอ่อนของผักตบชวาได้ 100% ใน 2 วัน และทำลายก้านใบของผักตบชวาได้ 100% ภายใน 24 ชั่วโมง ขณะที่สารสกัดจากบัวหลวง กันจ้ำ ลำโพง และแว่นแก้ว ในทุกชนิดของสารที่ใช้สกัด (น้ำกลั่น เอทิลอะซิเตท เฮกเซน และ เอทานอล) ในระดับความเข้มข้นที่ใช้ทดลองซึ่ง ได้แก่ 0- 1,000ppm นั้นไม่สามารถทำลายผักตบชวาได้ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการใช้เชื้อรา Alremnanic sp. ร่วมกับด้วงงวง ผักตบชวา ในการควบคุมปริมาณผักตบชวาโดยชีววิธี โดยทำการเลี้ยงต้วงงวงผักตบชวาจำนวน 15 ตัวต่อถัง นาน 2 วัน จากนั้นฉีดพ่นด้วยสารละลายสปอร์ของเชื้อรา Ateraria sp. ความเข้มข้น 1.0x10* สปอร์/มิลลิลิตร จากนั้นอีก 7 วัน ทำการฉีดด้วยสารละลายสปอร์ของเชื้อร Altemaria sp. อีกครั้ง ที่ความเข้มชัน 1.0x 10" สปอร์มิลลิสิตร และประเมินความรุนแรงของโรค พบว่าการใช้ด้วงงวง ผักตบชวาร่วมกับเชื้อรา Altemoric sp.ที่ความเข้มชัน 1.0x10 สปอร์/มิลลิสิตร ทำให้ผักตบชวาเกิด โรครุนแรงแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ จากผลการทคลองดังกล่าวสามารถนำไปประยุกต์ใช้ใน การควบคุมปริมาณผักตบชวาโดยชีววิธีต่อไป การศึกษาชนิดของตัวทำละลายที่เหมาะสมในการสกัดเซลลูโลสปริมาณของเซลลูโลสในส่วน ต่างๆ ของตันผักตบชวาที่นำมาสกัด และสภาวะที่เหมาะสมในการผลิตคาร์บอกซีเมทิลเซลลูโลสจาก ผักตบชวาและ ะการประยุกต์ใช้ในการเคลือบผิวผลสิ้นขี่ด้วยคาร์บอกซีเมทิลเซลลูโลสจากผักตบชวา ผล การศึกษาพบว่าการต้มเยื่อผักตบชวาในสารละลาย 2% NOH ทำให้ได้เยื่อเซลสูโลสที่มีลักษณะดีและ มีปริมาณเซลลูโลสมากที่สุด โดยในส่วนของโคนตันผักตบชวามีปริมาณซลลูโลสมากที่สุด การ สังเคราะห์ด้วยสาร ลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ 40 เปอร์เซ็นต์ เป็นสภาวะที่เหมาะสมทำให้ได้ผง CMC ที่มีคุณสมบัติดี และการเคลือบผิวด้วยคาร์บอกซึเมทิลเซลสูโลสจากผักตบชวาที่ระดับความเข้มชัน 1.0-2.0 เปอร์เซ็นต์ช่วยลดการสูญเสียน้ำหนักและลดการเกิดสีน้ำตาลและมีอายุการเก็บรักษาผลสิ้นจี่ ที่อุณหภูมิห้องได้ดีที่สุด
บทคัดย่อ (EN): The objective of the study was to determine the stem lengthen of water hyacinth (Eichhomia crassipes) in Kwan Phayao for supporting water hyacinth wickerwork occupation was conducted during August 2012 – May 2013. Treatments were desiqned of different amounts of water hyacinth in a frame plot (1 m2) at full frsme, ? frame and ? frame, respectively. The results showed that the water hyacinth in a full frame plot had the highest petiole length (40 cm) and number of leaves per plant (9 leaves/plan) after 6 months cultivation. Whereas, the water hyacinth in ? and ? frame plot had floating like stem and reproduced runners in more than 28 days. The growth of water hyacinth had increased to cover in full frame plot at 4 and 6 weeks, respectively. Its 1 had the highest of petiole length (45 and 50 cm) and number of leaves per plant (11 and 12 leaves/plant) at 8 and 6 months, respectively. However, the length of the water hyacinth petioles in every treatments were not suitable for wickerwork which needs morethan 80 cm of petiole length. Study on control water hyacinth by using native plant allelopathy found that, the extraction of Coleus amboinicus and Lantana camara with distilled water could destroyed Eichhornia crassipes’s leave and petiole while extraction of Tithonia diversifolia with ethyl acetate could destroyed young leaves and petiole of Eichhornia crassipes 100% in six days and two days, respectively. When increasing concentration to 1,000 ppm, the results show that leaves and petiole of water hyacinth were damaged 100% in two days and 24 hours, respectively. However, extraction of lotus, spanish needles, thorn apple and water pennywort with all extraction (water, ethyl acetate, hexane and ethanol) at concentration 0-1000 ppm could not effect of water hyacinth. The aim of this study was to studied effect of Alternaria sp. and water hyacinth weevil (Neochetina spp.) to control water hyacinth. Water hyacinth weevils were put in water hyacinth 15 weevils per plot for 2 days. The Alternaria sp. were inoculated on water hyacinth leaves for 1.0?105 spore/ml and after seven days, Alternaria sp. were also re-inoculated for 1.0?10 spore/ml concentration and disease severity of water hyacinth were check for effect of them. It was found that, treatment that inoculated with Alternaria sp concentration 1.0?106 spore/ml and water hyacinth weevil was highest disease severity. The results of this study could apply for control water hyacinth in the future. The objectives of this research were to study the optimum solvent for extraction cellulose from water hyacinth and study the optimum condition for production carboxymethyl cellulose from water hyacinth stem. Results showed that alkali boiling with 2%NaOH obtained good cellulose and highest cellulose content and in the lower part of stem of water hyacinth had more cellulose content than that in middle and upper part of stem of water hyacinth respectively. The optimum condition for production carboxymethyl cellulose from water hyacinth was synthesized with 40%NaOH, giving the good carboxymethyl cellulose properties. Coating with 1.0-2.0%CMC from water hyacinth decreased weight loss and browning score and prolong shelf life of lychee storage at room temperature.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2554-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2555-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยพะเยา
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การควบคุมประชากรผักตบชวาแบบบูรณาการ เพื่อการพัฒนากว๊านพะเยาอย่างยั่งยืน
มหาวิทยาลัยพะเยา
30 กันยายน 2555
การควบคุมประชากรผักตบชวาแบบบูรณาการ เพื่อการพัฒนากว๊านพะเยาอย่างยั่งยืน ระยะที่ 3 การกำจัดราในกระถางผักตบชวา การอนุรักษ์และใช้ประโยชน์เปรี้ยวแดง (Begonia alicida C. B. Clarke) อย่างยั่งยืน การส่งเสริมการเพิ่มผลผลิตข้าว เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน พลวัตประชากรปลาชนิดเด่นในกว๊านพะเยา จังหวัดพะเยา ศักยภาพการจัดการระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมกว๊านพะเยาเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน ปีที่3 การใช้ประโยชน์ทรัพยากรประมงในกว๊านพะเยา จังหวัดพะเยา การอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ทรัพยากรประมงในกว๊านพะเยาอย่างยั่งยืน โครงการ พัฒนาเยาวชนบนพื้นที่สูง การควบคุมผักตบชวาแบบผสมผสานโดยการใช้ด้วงงวงผักตบชวา ร่วมกับเชื้อรา Alternaria sp.

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก