สืบค้นงานวิจัย
การศึกษานิเวศวิทยาทางน้ำและทรัพยากรประมงของแม่น้ำยม
จารวี เอียดสุย, เดชา นาวานุเคราะห์, ชลิต อินทรัตน์ - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
ชื่อเรื่อง: การศึกษานิเวศวิทยาทางน้ำและทรัพยากรประมงของแม่น้ำยม
ชื่อเรื่อง (EN): Study on aquatic ecology and fisheries resource of Yom River
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ:
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย: กระทรวงศึกษาธิการ
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: การศึกษานิเวศวิทยาทางน้ำและทรัพยากรประมงของแม่น้ำยม ทำการศึกษาในฤดูร้อน ฤดูฝน และฤดูหนาว เป็นระยะเวลา 1 ปี ศึกษาชนิดและปริมาณของแพลงก์ตอน สัตว์หน้าดินและปลา เพื่อทำการประเมินสถานภาพของแม่น้ำยม จากการศึกษาพบแพลงก์ตอนทั้งหมด 227 ชนิด มีปริมาณเฉลี่ย 3,377.689 เซลล์ต่อลิตร สัดส่วนของแพลงก์ตอนพืชต่อแพลงก์ตอนสัตว์เท่ากับ 84.03:15.97 มีค่าดัชนีความหลากพันธุ์ 6.93 สัตว์หน้าดินที่พบมีทั้งหมด 21 ครอบครัว ปริมาณเฉลี่ย 3,775 ตัวต่อตารางเมตร ค่าดัชนีความหลากพันธุ์เท่ากับ 2.38 ส่วนปลาพบทั้งสิ้น 18 ครอบครัว 33 สกุล 46 ชนิด สัดส่วนปลากินพืชต่อปลากินเนื้อเท่ากับ 3.74 มีค่าดัชนีความหลากพันธุ์เท่ากับ 5.39 สามารถประเมินศํกยภาพของแม่น้ำยมได้ว่ามีความเหมาะสมในเรื่องของแพลงก์ตอนและปลา ส่วนสัตว์หน้าดินมีชนิดและปริมาณที่น้อย เนื่องจากแหล่งที่อยู่อาศัยไม่เหมาะสมและสภาพน้ำที่ไหลแรง
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2543
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2543
เอกสารแนบ: http://dcms.thailis.or.th/dcms/dccheck.php?Int_code=44&RecId=441&obj_id=1254
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
ภาษา (EN): th
รายละเอียด: การศึกษานิเวศวิทยาทางน้ำและทรัพยากรประมงของแม่น้ำยม ทำการศึกษาในฤดูร้อน ฤดูฝน และฤดูหนาว เป็นระยะเวลา 1 ปี ศึกษาชนิดและปริมาณของแพลงก์ตอน สัตว์หน้าดินและปลา เพื่อทำการประเมินสถานภาพของแม่น้ำยม จากการศึกษาพบแพลงก์ตอนทั้งหมด 227 ชนิด มีปริมาณเฉลี่ย 3,377.689 เซลล์ต่อลิตร สัดส่วนของแพลงก์ตอนพืชต่อแพลงก์ตอนสัตว์เท่ากับ 84.03:15.97 มีค่าดัชนีความหลากพันธุ์ 6.93 สัตว์หน้าดินที่พบมีทั้งหมด 21 ครอบครัว ปริมาณเฉลี่ย 3,775 ตัวต่อตารางเมตร ค่าดัชนีความหลากพันธุ์เท่ากับ 2.38 ส่วนปลาพบทั้งสิ้น 18 ครอบครัว 33 สกุล 46 ชนิด สัดส่วนปลากินพืชต่อปลากินเนื้อเท่ากับ 3.74 มีค่าดัชนีความหลากพันธุ์เท่ากับ 5.39 สามารถประเมินศํกยภาพของแม่น้ำยมได้ว่ามีความเหมาะสมในเรื่องของแพลงก์ตอนและปลา ส่วนสัตว์หน้าดินมีชนิดและปริมาณที่น้อย เนื่องจากแหล่งที่อยู่อาศัยไม่เหมาะสมและสภาพน้ำที่ไหลแรง
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การศึกษานิเวศวิทยาทางน้ำและทรัพยากรประมงของแม่น้ำยม
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
2543
เอกสารแนบ 1
การศึกษาหาปริมาณน้ำเตรียมแปลงสุทธิ สิทธิการเข้าถึงทรัพยากรประมงของชุมชนประมงรอบทะเลสาบสงขลา รายงานการวิจัย การวิเคราะห์ปริมาณโลหะหนักในน้ำบริโภคบรรจุขวดที่ผลิตและจำหน่ายในจังหวัดเพชรบูรณ์ โดยใช้เครื่องมือ การเปลี่ยนแปลงและความสัมพันธ์ของคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำบาดาล น้ำบ่อตื้นและน้ำประปา เพื่อการอุปโภคบริโภคในเขตพื้นที่รับน้ำจังหวัดยะลา การวิเคราะห์หาปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์อิสระในน้ำแม่น้ำเลย การบำบัดน้ำเสียด้วยบัวหลวง รายงานการวิจัย การอนุรักษ์และการจัดการทรัพยากรน้ำบริเวณพื้นที่ชุ่มน้ำสบมูล-ชี จังหวัดศรีสะเกษ และจังหวัดอุบลราชธานี สภาพการใช้ดินต่อปริมาณตะกอนหนักในน้ำของแม่น้ำปัตตานีศึกษาเฉพาะกรณีพื้นที่ผ่านเทศบาลเมืองยะลา อำเภอเมือง จังหวัดยะลา การศึกษาคุณภาพน้ำในคลองรังสิต จ.ปทุมธานี การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างดินและสังคมพืชในเวลา 3 ปี บริเวณเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่น้ำภาชี ปีที่ 1

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก