สืบค้นงานวิจัย
การสำรวจทางนิเวศวิทยา และการเปลี่ยนแปลงของปัจจัยทางสิ่งแวดล้อมตามฤดูกาลบริเวณพื้นที่อนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เขื่อนสิรินธร จ.อุบลราชธานี
พิสิฏฐ์ เจริญสุดใจ - มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ชื่อเรื่อง: การสำรวจทางนิเวศวิทยา และการเปลี่ยนแปลงของปัจจัยทางสิ่งแวดล้อมตามฤดูกาลบริเวณพื้นที่อนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เขื่อนสิรินธร จ.อุบลราชธานี
ชื่อเรื่อง (EN): Ecological Survey and Seasonal Changes of Environmental Factors at the Plant genetics Conservation Project under the Royal Initiative Project of Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn : Sirindhorn Dam, Ubon Ratchathani Province
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: พิสิฏฐ์ เจริญสุดใจ
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Phisit Charoensudchai
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: การศึกษาวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อคัตยกแบคที่เรียกลุ่มแอคติโนมัยสีทที่มีความสามารถในการผลิตเอนไชม์เซลลูเลสเพื่อผลิตน้ำตาลจากวัสตุเหลือทิ้งทางการเกษตร โดยจะทำการศึกษากิจกรรมของเอนไชม์เบต้า-กลูโคสิเตส ซึ่งสามารถย่อยสลายโครงสร้างของเชลลูโลสให้เป็นน้ำตาลกลูโคสและนำไปใช้เป็นแหล่งคาร์บอนในการเพาะเลี้ยงเชื้อจุสินทรีย์เพื่อผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพเช่น เอทานอล จากการคัดแยกเชื้อแบคทีเรียกลุ่มแอคติโนมัยสีทในครั้งนี้ได้ทำการเก็บตัวอย่างจากพื้นที่แปลงทตลองเขื่อนจุฬาภรณ์ จังหวัดชัยภูมิ จำนวน4 แปลง แปลงทตลองละ 16 ตัวอย่าง คัดแยกเชื้อได้ทั้งหมด 190 ไอโซเลูท แล้วทตสอบความสามารถในการย่อยเซลลูโลสบนจานอาหารเลี้ยงเชื้อ CMC aga พบว่า ไอโซเท CDF:L:D: มีความสามารถในการย่อยสลายเซลลูโลสได้ดีที่สุดซึ่งพบค่าอัตราส่วนระหว่างขนาดเคลียร์โชนกับขนาตโคโลนี เท่ากับ 14.02 จากนั้นไต้นำเชื้อไอโซเลตนี้มาทตสอบความสามารถในการผลิตเอนไซม์เบต้า-กลู่โคสิเตส ในอาหาร CMC broth ที่มีการแปลผันแห่ล่งคาร์บอนและแหล่งไนโตรเจน พบว่าไอโซเลท CDF21:D: มีกิจกรรมของเอนไซม์สูงสุดเท่ากับ2.639 U/m(ในแหล่งคาร์บอนที่ต้จากฟางข้าว ส่วนแหล่งไนโตรเจนที่ให้ปริมาณกิจกรรมของเอนไซม์เบต้า-กลูโคสิเตส สูงสุดอ เปปโตน ซึ่งมีกิจกรรมของเอนไซม์ 5.443 U/m. นอกจากนี้ยังมีการศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยาเบื้องต้นของเชื้อไอโซเลท CDF.L:D.: พบว่ามีรูปร่างของอัปสปอร์ม้วนเป็นวงกลม ลักษณะคล้ายloop คาดว่าน่าจะอยู่ใน genus Streptosporangium.
บทคัดย่อ (EN): This investigation was carried out during March 2011 to September 2011 at the Department of Fisberies, Faculty of Agriculture, Khon Kaen University, Khon Kaen, Thailand. The RAPD-PCR technique was used for determinations of DNA patterns of Pla-mong (Pangasius bocourti Sauvage 1880). The fish samples of 120 individual fish were collected from four provinces in Northeast Thailand and they were used for DNA extraction. Genomic DNAs were extracted from 5 mg of muscle tissues (skeleton muscles) with the use of PUREGENET DNA Isolation Kit for Laboratory Use, Gentra Systems, USA. Sixteen RAPD decamer primers from three kit of Operon Technologies were subjected to a preliminary test. It was found that only 7 decamer primers were suited for this PCR amplification. The result showed that similarity index values and genetic distance being established two population of fishes ranged from 0.0 7-0 .60 and 0.20 and 0.0 2-0.14 for a pairs between small size of fish and medium of fish and a pair between large size of fish and jumbo size of fish, respectively.
ชื่อแหล่งทุน: เงินงบประมาณแผ่นดิน
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2553
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2554
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
ปีที่ได้รับงบประมาณ (ระบุได้มากกว่า 1 ปี): 2554
ประเภทชิ้นงาน: การวิจัยประยุกต์
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยขอนแก่น
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การสำรวจทางนิเวศวิทยา และการเปลี่ยนแปลงของปัจจัยทางสิ่งแวดล้อมตามฤดูกาลบริเวณพื้นที่อนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เขื่อนสิรินธร จ.อุบลราชธานี
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
2554
การสำรวจกล้วยไม้ป่าในพื้นที่โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เขื่อนสิรินธร จ.อุบลราชธานี การสำรวจกล้วยไม้ป่าในพื้นที่โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เขื่อนอุบลรัตน์ จ.ขอนแก่น การสำรวจและอนุรักษ์ทรัพยากรพืชวงศ์ขิงตามโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี การสำรวจและอนุรักษ์พันธุ์กล้วยไม้ป่า ในโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เขื่อนห้วยกุ่ม จ.ชัยภูมิ การวิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยีรูปแบบศูนย์การเรียนรู้ตามโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ การศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพและความสัมพันธ์กับแหล่งที่อยู่อาศัยของนกในบริเวณพื้นที่โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มหาวิทยาลัยขอนแก่น พื้ ความหลากชนิด ความหลากหลายทางพันธุกรรม นิเวศวิทยา และโรคติดเชื้อในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็ก บริเวณพื้นที่โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี การศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพของไลเคนในหมู่เกาะและพื้นที่ของโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ความหลากหลายทางชีวภาพของด้วงมูลสัตว์ในระบบนิเวศ ในโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มหาวิทยาลัยขอนแก่น พื้นที่เขื่อนจุฬาภรณ์ จังหวัดชัยภูมิ การสำรวจสัตว์ป่าในบริเวณโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารีเขื่อนจุฬาภรณ์

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก