สืบค้นงานวิจัย
การพัฒนาการเก็บรักษาคุณภาพความสดของปลายี่สกเทศ
วลัย คลี่ฉายา, รัชดา อิทธิพงษ์, สุภาพร สิริมานุยุตต์, สมยศ ราชนิยม, นิรชา วงษ์จินดา, วลัย คลี่ฉายา, รัชดา อิทธิพงษ์, สุภาพร สิริมานุยุตต์, สมยศ ราชนิยม, นิรชา วงษ์จินดา - กรมประมง
ชื่อเรื่อง: การพัฒนาการเก็บรักษาคุณภาพความสดของปลายี่สกเทศ
ชื่อเรื่อง (EN): Development of Handling of Rohu (Labeo rohita) for Freshness Quality
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: ิีการเกบ็ รักษาคุณภาพความสดของปลายสี่ กเทศ สุภาพร สิริมานุยุตต์* และรัชดาอิทธิพงษ์ กองพฒั นาอุตสาหกรรมสัตว์น้ากรมประมง บทคัดย่อ งานวจิยัน้ีมีวตัถุประสงคเพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงคุณภาพทางเคมี ์ จุลชีววิทยาและทางประสาท สัมผัสของปลายี่สกเทศเก็บรักษาดว้ยการแช่เยน็แบบต่างๆ รวมท้งัประเมินอายกุ ารเก็บรักษาโดยนาปลา ยสี่ กเทศมีชีวติมาทดลองการจดัการหลงัการจบัและเก็บรักษา 3 วิธีคือ1. ทาให้ปลาตายทันทีในน้าเย็น ก่อน เก็บรักษาในนา้แขง็ 2. ทาให้ปลาตายทันทีในน้าเย็น ก่อนเก็บรักษาในนา้แขง็ผสมเกลือ3% 3. ทาให้ปลาตาย ทันทีในน้าเกลือเย็น ก่อนเก็บรักษาในนา้แขง็ผสมเกลือ3% ซ่ึงเก็บรักษาปลา 2 รูปแบบคือเก็บแบบท้งัตวั และเก็บแบบผา่ ทอ้งเอาไส้พุงออก พบวา่ การจดัการหลงัการจบัและเก็บรักษาวธิีที่2 เก็บรักษาปลาแบบผา่ ทอ้งเอาไส้พุงออกเป็นวธิีที่สามารถเก็บรักษาปลาใหม้ีคุณภาพดีที่สุดโดยมีค่า K เพิ่มข้ึนชา้ที่สุดจาก15.34% เป็น 26.17% มีปริมาณจุลินทรีย์(Psychrophile) เพิ่มข้ึนจาก2.51 Log cfu/g เป็น 2.94 Log cfu/g ตลอด ระยะเวลาเก็บรักษา 10 วัน และประเมินอายกุ ารเก็บรักษาจากคะแนนการยอมรับทางประสาทสัมผสั ที่ระดบั ดี(7 -8.9 คะแนน) อยทู่ ี่7 วัน แบบปลาดิบ และ8 วนั หากเป็นเน้ือปลาสุกเมื่อนาวธิีการจดัการและการเก็บ รักษาตามวิธีที่2 มาทดลองเก็บรักษาปลายสี่ กเทศแล่เป็นชิ้น (fillet) บรรจุในถุงพลาสติกก่อนเก็บรักษาจะ สามารถยดือายกุ ารเก็บรักษาเน้ือปลาไดน้ าน 8 วนั ท้งัแบบดิบและสุกโดยผทู้ดสอบใหคะแนนการยอมรับใน ้ ระดับดีนอกจากน้ีไดท้ดลองเก็บรักษาในลกัษณะเน้ือปลาบดแช่นา้แขง็ พบวา่ สามารถเก็บรักษาไดไ้ม่นอ้ย กวา่ 6 วัน โดยคุณภาพดา้นความเหนียวไดแ้ก่ค่าความแขง็แรงของเจลค่าทดสอบการพบั และสีของเน้ือปลา บดไม่แตกต่างกนั ตลอดการเก็บรักษา ค าส าคัญ : ปลายี่สกเทศ,การเก็บรักษา, คุณภาพ, ความสด *ผู้รับผิดชอบ : เกษตรกลางจตุจักรกรุงเทพฯ10900 โทร: 0-2940-6130-45 ต่อ4302 E-mail : supapornsir@fisheries.go.th
บทคัดย่อ (EN): Handling of Rohu (Labeo rohita) for Freshness Quality Supaporn Sirimanuyutt* and Ratchada Iddhipongsa Fishery Technological Development Division, Department of Fisheries The objective of this experiment was to study the handling methods of Rohu after harvesting. Chemical, microbiological and physical quality of fish during storage were determined. There were 3 handling methods of live Rohu: 1.) Kill in chilled water and stored in ice, 2.) Kill in chilled water and stored in ice mixed with 3%(w/w) salt and 3.) Kill in chilled saline solution and stored in ice mixed with 3% salt. Both whole fish and gutted fish were stored by those of 3 handling methods for 10 days. The results showed that gutted fish kept as the second method was the best one. K-value of fish increased slowestly from 15.34% to 26.17% and number of phychrophilic microbials increased from 2.51 to 2.94 Log cfu/g during 10-days of storage. The shelf life of these raw and cooked gutted fish were 7 days and 8 days, respectively while the obtained sensory score were 7-8.9 or at good level. The 2nd of handling methods was selected for keeping Rohu fillet with skin and packed in polyethylene bag. It was found that this method could extend shelf life of both raw and cooked Rohu fillet for 8 days and the sensory score was at good level. Moreover, shelf life of minced Rohu stored in ice was studied. The results showed that the gel strength, folding test and whiteness of these samples were not significantly different during 6 days of storage. Key words : Rohu, Handling, Quality, Freshness *Corresponding author : Kaset-Klang Chatuchak, Bangkok 10900 Tel : 0-2940-6130-45 ext.4302 E-mail : supapornsir@fisheries.go.th
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2551-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2554-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: กรมประมง
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การพัฒนาการเก็บรักษาคุณภาพความสดของปลายี่สกเทศ
กรมประมง
30 กันยายน 2554
กรมประมง
การพัฒนาการเก็บรักษาคุณภาพความสดของปลาโมง (Pangasius bocourti Sauvage,1880) การเปลี่ยนแปลงลักษณะคุณภาพของหัวแก่นตะวันสดในระหว่างการเก็บรักษา ผลของอุณหภูมิของต่อการเปลี่ยนแปลงสารหอมระเหยและคุณภาพทางกายภาพ - เคมีของส้มโอตัดแต่งสดระหว่างการเก็บรักษา ผลของ 1-Methylcyclopropeneและ เฮกซานอลต่ออายุ การเก็บรักษาและคุณภาพหม่อนผลสดพันธุ์เชียงใหม่ การเปลี่ยนแปลงคุณภาพระหว่างการเก็บรักษาหอยแครงสดและหอยแครงลวก การเปรียบเทียบศักยภาพของผลผลิตเมล็ดพันธุ์และคุณภาพในการเก็บรักษาของถั่วเหลืองฝักสดกลิ่นหอม ดัชนีเคมีเพื่อการตรวจสอบย้อนกลับคุณภาพความสดของวัตถุดิบสำหรับซูริมิปลาเขตร้อน การพัฒนาวิธีตรวจสอบคุณภาพความสดและปริมาณสารฟอสเฟตของผลิตภัณฑ์กุ้งแช่เยือกแข็งแบบรวดเร็วด้วยเทคนิคเนียร์อินฟราเรด ศึกษาระดับอุณหภูมิการเก็บรักษาและภาชนะบรรจุที่เหมาะสมเพื่อรักษาคุณภาพเมล็ดพันธุ์พืชปุ๋ยสดตระกูลถั่ว การเปลี่ยนแปลงคุณภาพความสดของกั้งตั๊กแตนภายหลังการจับ

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก