สืบค้นงานวิจัย
การศึกษาถึงความปลอดภัยของสารสกัดเปลือกมังคุดในคนปกติ และประสิทธิผลต่อการรู้คิดและอาการทางจิตประสาท ของผู้ป่วยภาวะสมองเสื่อมอัลไซเมอร์ระยะแรกถึงปานกลาง
รศ.นพ.วีรศักดิ์ เมืองไพศาล - กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
ชื่อเรื่อง: การศึกษาถึงความปลอดภัยของสารสกัดเปลือกมังคุดในคนปกติ และประสิทธิผลต่อการรู้คิดและอาการทางจิตประสาท ของผู้ป่วยภาวะสมองเสื่อมอัลไซเมอร์ระยะแรกถึงปานกลาง
ชื่อเรื่อง (EN): A study on the safety of mangosteen peel extract in normal people. and its effectiveness on cognition and psychomotor symptoms. of patients with early to moderate Alzheimer's dementia
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: รศ.นพ.วีรศักดิ์ เมืองไพศาล
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): N/A
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย (EN): N/A
คำสำคัญ: การศึกษา
คำสำคัญ (EN): N/A
หมวดหมู่:
หมวดหมู่ AGRIS:
บทคัดย่อ: โครงการวิจัยนี้เป็นโครงการวิจัยต่อเนื่องเพื่อศึกษาประสิทธิผลของสารสกัดเปลือกมังคุดต่อการรู้คิดและอาการทางจิตประสาทของผู้ป่วยภาวะสมองเสื่อมอัลไซเมอร์ระยะแรกถึงปานกลาง โดยอาศัยผลการวิจัยของคณะผู้วิจัยที่มี ศ. พญ.นีโลบล เนื่องตัน เป็นหัวหน้าโครงการวิจัย ถึงผลดีของสารสกัดเปลือกมังคุด พบว่าสารสกัดเปลือกมังคุด สามารถป้องกันพิษของ H2O2 ที่เกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลาภายในร่างกาย และเกิดเพิ่มมากขึ้นในคนสูงอายุ และป้องกันพิษของ beta amyloid (Aβ) ที่เป็นสาเหตุสำคัญของการเกิดโรคอัลไซเมอร์ได้ผล นอกจากนั้น รศ. ดร.จินตนา สัตยาศัย และคณะผู้วิจัยได้ศึกษาพบว่า สารสกัดเปลือกมังคุดช่วยให้สัตว์ทดลองมีความจำดีขึ้น สามารถต้านฤทธิ์ scopolamine ที่ทำให้ความจำเสื่อมได้ โดยการลดระดับ caspase-3 และสารอนุมูลอิสระ (reactive oxygen species) ที่ถูกชักนำให้สูงขึ้น ลงมาได้ปกติ ค่าที่ลดลงนี้ตามกันกับผลความจำที่ดีขึ้น อีกทั้งไม่ทำให้เกิดพิษ ทั้งในระยะเฉียบพลันและระยะเรื้อรัง และยังมีฤทธิ์ลดอาการซึมเศร้า และความวิตกกังวลได้
บทคัดย่อ (EN): This research project is an ongoing research project to study the effectiveness of mangosteen bark extract on cognition and psychomotor symptoms in patients with early to moderate Alzheimer's dementia. Based on the research results of the research team with Prof. Neelobon Nuengtan as the research project leader. to the good effect of mangosteen peel extract found that mangosteen peel extract Can prevent the toxicity of H2O2 that occurs all the time within the body. and increasing in the elderly And prevent the toxicity of beta amyloid (Aβ), which is an important cause of Alzheimer's disease. In addition, Assoc. Prof. Dr. Jintana Satyasai and the research team found that Mangosteen peel extract helped the experimental animals to have better memory. Can counteract the effect of scopolamine that causes memory loss. By reducing normal levels of caspase-3 and induced reactive oxygen species, these decreases were associated with improved memory outcomes. It also does not cause poisoning. both in the acute phase and in the chronic phase and also has the effect of reducing depression and anxiety
แผนยุทธศาสตร์งานวิจัย – ระดับชาติ:
แผนยุทธศาสตร์งานวิจัย – ระดับกระทรวง: N/A
แผนยุทธศาสตร์งานวิจัย – ระดับกรม: N/A
เลขทะเบียนวิจัยกรม: N/A
ชื่อแหล่งทุน: กองทุนภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย กรมแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
เลขทะเบียนวิจัยแหล่งทุน: N/A
วิธีการจ้างทำงานวิจัย: ได้รับทุนวิจัย
จำนวนเงินตามสัญญารับงานวิจัย: 0000
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2556
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2556
เอกสารแนบ: http://ttdkl.dtam.moph.go.th/Module7/frmc_home_research_show.aspx?r_id=Mjkz
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
พื้นที่ดำเนินการ: N/A
ช่วงเวลาที่รวบรวมข้อมูล: N/A
ปีที่ได้รับงบประมาณ (ระบุได้มากกว่า 1 ปี): 2556
ประเภทชิ้นงาน: การวิจัยพื้นฐาน
เผยแพร่โดย: กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การศึกษาถึงความปลอดภัยของสารสกัดเปลือกมังคุดในคนปกติ และประสิทธิผลต่อการรู้คิดและอาการทางจิตประสาท ของผู้ป่วยภาวะสมองเสื่อมอัลไซเมอร์ระยะแรกถึงปานกลาง
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
2556
เอกสารแนบ 1
ประสิทธิผลของสารสกัดขิงในการลดอาการปวดของมารดาหลังคลอดปกติครรภ์แรก ความปลอดภัยของอาหาร...หน้าที่ของเราทุกคน ใครว่าผักไทยไม่ปลอดภัย การตรวจสอบฤทธิ์กลายพันธุ์และต้านการกลายพันธุ์ของสารสกัดยาแผนโบราณไทย คุณภาพชีวิตของคนใน กทม. ด้านการศึกษาและสาธารณสุข การวิจัยในสภาพสวนเพื่อพัฒนาการผลิตมังคุดนอกฤดูจังหวัดนครศรีธรรมราช การพัฒนาต้นแบบหลักสูตรเกษตรปลอดภัยและเกษตรอินทรีย์ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงด้วยการศึกษาทางไกล รายงานผลการศึกษาวิจัย โครงการศึกษาผลกระทบต่อสุขภาพในเด็กจากการรับสัมผัสสารเคมีกำจัดศัตรูพืช ปีงบประมาณ 2549 ฐานข้อมูลงานวิจัย (12 ต.ค. 2558)การศึกษาภาวะการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการปลูกข้าวในพื้นที่ลุ่มน้้าปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช การติดตามตรวจสอบสารกลุ่มโพลีไซคลิกอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอนในอากาศริมถนนโดยใช้ใบไม้ในเขตจังหวัดนนทบุรี

แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก