สืบค้นงานวิจัย
สภาวะทรัพยากรสัตว์ทะเลและการประมงพาณิชย์ในเขตมาตรการอนุรักษ์สัตว์น้ำในฤดูปลาที่มีไข่และวางไข่ เลี้ยงลูกและพื้นที่ใกล้เคียงทางฝั่งทะเลอันดามัน
สนธยา บุญสุข, สัมพันธ์ ปานจรัตน์, ชลิต สง่างาม, ธุมาวดี ใจเย็น, วรรลี สิงห์ธงยาม, นันทนา นาโคศิริ, สนธยา บุญสุข, สัมพันธ์ ปานจรัตน์, ชลิต สง่างาม, ธุมาวดี ใจเย็น, วรรลี สิงห์ธงยาม, นันทนา นาโคศิริ - กรมประมง
ชื่อเรื่อง: สภาวะทรัพยากรสัตว์ทะเลและการประมงพาณิชย์ในเขตมาตรการอนุรักษ์สัตว์น้ำในฤดูปลาที่มีไข่และวางไข่ เลี้ยงลูกและพื้นที่ใกล้เคียงทางฝั่งทะเลอันดามัน
ชื่อเรื่อง (EN): Marine Resources and Fishery from Commercial Gears in the Seasonal Closed Area of the Andaman Sea
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: การประมงพาณิชย์ในเขตมาตรการอนุรักษ์สัตว์น าในฤดูปลาที่มีไข่ และวางไข่ เลี ยงลูก และพื นที่ ใกล้เคียงทางฝั่งทะเลอันดามัน ครอบคลุมพื นที่จังหวัดภูเก็ต พังงา กระบี่ ตรัง และสตูล เก็บรวบรวมข้อมูลจาก อวนลากแผ่นตะเฆ่ขนาดเล็ก อวนลากคู่ อวนล้อมจับปั่นไฟ อวนด า อวนล้อมซั ง อวนตังเก อวนล้อมตะเกียง อวนครอบปลากะตัก และอวนล้อมจับปลากะตักเวลากลางวัน ตั งแต่เดือนมกราคม-ธันวาคม พ.ศ. 2553 พบว่า เรือประมงพาณิชย์ส่วนใหญ่ท าการประมงในเวลากลางคืน ยกเว้นอวนลากคู่ และอวนล้อมจับปลากะตักเวลา กลางวัน สามารถท าการประมงได้ตลอดทั งปี มีแหล่งท าการประมงกระจายตลอดฝั่งทะเลอันดามันที่ระดับ ความลึก 10-80 เมตร แต่เดือนเมษายน-เดือนมิถุนายนซึ่งเป็นช่วงมาตรการอนุรักษ์ฯ พบว่า เรืออวนลากคู่ อวนล้อมจับ และอวนครอบปลากะตัก ไม่สามารถเข้าไปท าการประมงในบริเวณพื นที่มาตรการอนุรักษ์ฯ ได้ ยกเว้นอวนลากแผ่นตะเฆ่ขนาดเล็ก และอวนล้อมจับปลากะตักเวลากลางวันสามารถเข้าไปท าการประมงใน พื นที่มาตรการอนุรักษ์ฯ ได้เนื่องจากไม่ได้อยู่ในข่ายของเครื่องมือที่ห้ามท าการประมงในเขตมาตรการอนุรักษ์ฯ เรืออวนลากคู่ และอวนลากแผ่นตะเฆ่ขนาดเล็กมีอัตราการจับเฉลี่ยสัตว์น าทั งหมดเท่ากับ 67.85 และ 32.53 กิโลกรัม/ชั่วโมง ตามล าดับ ผลจับประกอบด้วยกลุ่มสัตว์น าเศรษฐกิจร้อยละ 34.57 และ 31.86 ตามล าดับ ปลาเป็ดร้อยละ 65.43 และ 68.14 ตามล าดับ โดยปลาเป็ดประกอบด้วยปลาเป็ดแท้ร้อยละ 28.58 และ 37.99 ตามล าดับ สัตว์น าเศรษฐกิจขนาดเล็กร้อยละ 71.42 และ 62.01 ตามล าดับ เรืออวนล้อมจับมี อัตราการจับเฉลี่ยสัตว์น าทั งหมดเท่ากับ 1,956 กิโลกรัม/วัน พบปลาผิวน าเป็นองค์ประกอบสัตว์น าที่ส าคัญร้อย ละ 51.75 ปลาหน้าดินร้อยละ 28.54 เรืออวนครอบปลากะตัก และอวนล้อมจับปลากะตักเวลากลางวันมีอัตรา การจับเฉลี่ยสัตว์น าทั งหมดเท่ากับ 1,861 และ 383 กิโลกรัม/วัน ปลากะตักที่พบมาก ได้แก่ Encrasicholina punctifer E.heteroloba และ Stolephorous chinensis สัตว์น าที่เข้ามาในข่ายการประมงเรือประมงพาณิชย์ มีขนาดความยาวเฉลี่ยเล็กกว่าขนาดแรกเริ่ม สืบพันธุ์ ยกเว้นปลาทรายแดงชนิด N. hexodon และปลาปากคมชนิด Saurida undosquamis ในเครื่องมือ อวนลากคู่ และอวนลากแผ่นตะเฆ่ ปลาหลังเขียวชนิด Sardinella gibbosa และปลาข้างเหลือง (Selaroides leptolepis) ในอวนลัอมจับ และปลาทูในเรือครอบปลากะตักที่มีความยาวเฉลี่ยใหญ่กว่าขนาดแรกเริ่มสืบพันธ
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2552-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2554-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: กรมประมง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
สภาวะทรัพยากรสัตว์ทะเลและการประมงพาณิชย์ในเขตมาตรการอนุรักษ์สัตว์น้ำในฤดูปลาที่มีไข่และวางไข่ เลี้ยงลูกและพื้นที่ใกล้เคียงทางฝั่งทะเลอันดามัน
กรมประมง
30 กันยายน 2554
กรมประมง
ทรัพยากรสัตว์ทะเลจากการประมงพื้นบ้านในเขตมาตรการอนุรักษ์สัตว์น้ำทางฝั่งทะเลอันดามัน... ทรัพยากรสัตว์ทะเลจากเรือสำรวจประมงในเขตมาตรการอนุรักษ์สัตว์น้ำทางฝั่งทะเลอันดามัน แพลงก์ตอนสัตว์ในเขตมาตรการอนุรักษ์สัตว์น้ำในฤดูปลาที่มีไข่ และวางไข่ เลี้ยงลูก และพื้นที่ใกล้เคียงทางฝั่งทะเลอันดามัน ความชุกชุมและการแพร่กระจายของสัตว์น้ำเศรษฐกิจวัยอ่อนในเขตมาตรการอนุรักษ์ สัตว์น้ำทางฝั่งทะเลอันดามัน สภาวะทรัพยากรและการประมงปลาโอทางฝั่งทะเลอันดามันของประเทศไทย สภาวะทรัพยากรสัตว์น้ำจากเครื่องมือประมงพาณิชย์ประกอบแสงไฟตามระยะห่างฝั่งทางฝั่งทะเลอันดามันของประเทศไทย พ.ศ.2554 การทำประมงลอบหมึกทางฝั่งทะเลอันดามันของประเทศไทย สมุทรศาสตร์การประมงบริเวณแหล่งประมงปลาทูน่าในทะเลอันดามัน ศักยภาพของพื้นที่ในการจัดสร้างปะการังเทียมเพื่อการประมง สภาวะทรัพยากรและการประมงปลาโอในอ่าวไทย

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก