สืบค้นงานวิจัย
การศึกษาปริมาณการใช้น้ำของแก่นตะวัน
ศุภกิจ ต้นวิบูลย์ศักดิ์, สุจิน จรูญศักดิ์, พันธ์ชัย บุญเพ็ญ, ศรชัย สิทธิรักษ์, สิโรจน์ ประคุณหังสิต, วัลลภ ภู่ทองสุข - กรมชลประทาน
ชื่อเรื่อง: การศึกษาปริมาณการใช้น้ำของแก่นตะวัน
ชื่อเรื่อง (EN): A study on consumptive use of Jerusalem artichoke
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ:
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN):
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย (EN):
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
หมวดหมู่: อื่นๆ
บทคัดย่อ: ได้ทำการศึกษาการใช้น้ำของแก่นตะวัน ที่สถานีทดลองการใช้น้ำชลประทานที่ 5 (แม่กลองใหญ่) อ. กำแพงสน จ. นครปฐม ตั้งแต่วันที่ 24 พฤษภาคม 2553 ถึงวันที่ 11 ตุลาคม 2553 วัดค่าการระเหยของแก่นตะวันโดยใช้ถังวัดแบ Percolation ฝังอยู่ในแปลงทดลอง ชุดละ 4 ถัง มีการเก็บตัวอย่างดิน เพื่อตรวจวิเคราะห์และเก็บดินเพื่อหาความชื้น บันทึกสภาพภูมิอากาศโดยเครื่องมือซึ่งติดตั้งอยู่ในสถานีตรวจอากาศ ซึ่งอยู่ใกล้เคียงกับแปลงทดลอง แล้วนำมาคำนวณหาค่าการระเหยของแก่นตะวัน รวม 6 วิธีการ ได้แก่สูตร Modified Penman, Blaney Criddel, E- Pan, Hargreaves, Radiation, และ Penma Monteith และนำค่าที่ได้มาเปรียบเทียบกับการวัดโดยการวัดจากถังวัดการใช้น้ำ พบว่า แก่นตะวันในช่วง 4 เดือน ก่อนเก็บเกี่ยว มีการคายละเหย (Evapotranspiration, ET) รวม 1,151.35 มม. หรือ 191.89 มม. / เดือน การคายระเหยจะเพิ่มตามลักษณะการเจริญเติบโตจนถึงสูงสุด อายุ 3 เดือน หลังปลูก หลังจากนั้นจะลดลงจนกระทั่งเก็บเกี่ยว ค่าสัมประสิทธิ์การใช้น้ำของพืช (Crop coefficient, Kc) เฉลี่ยตลอดฤดูปลูก ของสมการ Penman Monteith เท่ากับ 1.46 ซึ่งใกล้เคียงกับ ค่าสัมประสิทธิ์การใช้น้ำของพืชเบ็ดเสร็จ (K/p) 1.47 รองลงมาคือสมการของ Hargreaves เท่ากับ 1.40
บทคัดย่อ (EN): Abstract is in the attached file.
แผนยุทธศาสตร์งานวิจัย – ระดับชาติ: ความมั่นคง
แผนยุทธศาสตร์งานวิจัย – ระดับกรม: การพัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำและการชลประทาน
เลขทะเบียนวิจัยกรม: สวพ.46/2553
ชื่อแหล่งทุน: เงินงบประมาณแผ่นดิน
เลขทะเบียนวิจัยแหล่งทุน: 30288
วิธีการจ้างทำงานวิจัย: ดำเนินการวิจัยเอง
จำนวนเงินตามสัญญารับงานวิจัย: 0
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2552
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2553
เอกสารแนบ: https://drive.google.com/file/d/1Q1ObqyYwH0IVpufDdWJ5BSfg0FT38L5G/view?usp=share_link
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
พื้นที่ดำเนินการ: จ.ชัยภูมิ
ช่วงเวลาที่รวบรวมข้อมูล: เดือน ตุลาคม 2552 ถึง เดือน กันยายน 2553
ปีที่ได้รับงบประมาณ (ระบุได้มากกว่า 1 ปี): 2553
ประเภทชิ้นงาน: การวิจัยพื้นฐาน
เผยแพร่โดย: กรมชลประทาน
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
รายละเอียด: Approved for entry into archive by รดา รุจณรงค์ (กรมชลประทาน) (rada_ru@rid.go.th) on 2017-12-25T05:51:37Z (GMT) No. of bitstreams: 0
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การศึกษาปริมาณการใช้น้ำของแก่นตะวัน
กรมชลประทาน
2553
เอกสารแนบ 1
กรมชลประทาน
การศึกษาปริมาณการใช้น้ำของมะละกอ (ปีที่ 3) การศึกษาหาปริมาณการใช้น้ำของมะนาว (ปีที่3) การศึกษาหาปริมาณการใช้น้ำของทับทิม (ปีที่ 2) การศึกษาปริมาณการใช้น้ำหญ้าหวานปีที่ 1 การหาปริมาณการใช้น้ำของสบู่ดำ (ปีที่3) การศึกษาปริมาณการใช้น้ำดอกชมจันทร์ปีที่ 2 การศึกษาหาปริมาณการใช้น้ำดอกชมจันทร์ ปีที่ 2 การศึกษาหาปริมาณการใช้น้ำของถั่วดาวอินคา (ปีที่ 1) การศึกษาหาปริมาณการใช้น้ำของชมพู่พันธุ์เพชรสายรุ้ง (ปีที่3) แก่นตะวัน (Helianthus tuberosus L.) : พืชชนิดใหม่ใช้เป็นพลังงานทดแทน

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก