สืบค้นงานวิจัย
ความหลากหลายทางชีวภาพของโคพีพอดและไมซิด บริเวณหาดนางรอง เกาะจระเข้ และกลุ่มเกาะจวง อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี (ภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี)
ขวัญเรือน ศรีนุ้ย - มหาวิทยาลัยบูรพา
ชื่อเรื่อง: ความหลากหลายทางชีวภาพของโคพีพอดและไมซิด บริเวณหาดนางรอง เกาะจระเข้ และกลุ่มเกาะจวง อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี (ภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี)
ชื่อเรื่อง (EN): Biodiversity of Copepods and Mysids in Had Nang-Rong, Jorake Islands, and Juang Islands, Amphur Sattahip, Chon Buri Province
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย: ขวัญเรือน ศรีนุ้ย
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: ทำการสำรวจโคพีพอดและไมซิด บริเวณหาดนางรอง เกาะจระเข้ และกลุ่มเกาะจวง จำนวน 6 ครั้ง ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2551 ถึงเดือนกันยายน 2552 พบโคพีพอดทั้งสิ้น 4 Suborder ได้แก่ Calanoida, Cyclopoida, Harpacticoida, และ Poecilostomatoida ประกอบด้วย 20 ครอบครัว 21 สกุล 43 ชนิด ส่วนไมซิดพบทั้งสิ้น 3 ครอบครัวย่อย 11 สกุล 13 ชนิด เมื่อเปรียบเทียบจำนวนชนิดระหว่างปี2551 และ 2552 พบว่าปี 2552 มีความหลากหลายทางชนิดของโคพีพอดและไมซิดมากกว่าปี 2551 ชนิดที่เป็นชนิดเด่นของโคพีพอดในแนวปะการัง ได้แก่ Calanopia elliptica, Calanopia minor, Pseudodiaptomus clevi และ Pseudodiaptomus aurivilli ไมซิดที่พบเป็นชนิดเด่นอาศัยอยู่ในแนวสาหร่ายสีน้ำตาล (Sagrassum sp.) คือ Anisomysis aikawai
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2550-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2553-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยบูรพา
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ความหลากหลายทางชีวภาพของโคพีพอดและไมซิด บริเวณหาดนางรอง เกาะจระเข้ และกลุ่มเกาะจวง อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี (ภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี)
มหาวิทยาลัยบูรพา
30 กันยายน 2553
โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี โครงการอนุรักษ์พันธุ์กรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ ฐานข้อมูลจีโนไทป์ของเชื้อพันธุกรรมพืชตระกูลแตง แนวโน้มตลาดอาหารเสริมสุขภาพจากพืช การศึกษาพันธุ์พืชสมุนไพรและการใช้ประโยชน์ เพื่ออนุรักษ์พันธุกรรมพืช ความผันแปรตามฤดูกาลและลักษณะทางพันธุกรรมของประชาคมแพลงก์ตอนสัตว์ในพื้นที่ปกปักพันธุกรรมพืชทางทะเล หมู่เกาะแสมสาร จังหวัดชลบุรี ระยะที่ 2 (สนองพระราชดำริในโครงการการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพร การทดลองปลูกขยายพันธุ์พืชบางชนิด ที่สำรวจพบในพื้นที่ โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พื้นที่มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา อ.เมือง จ.พะเยา การศึกษามาตรฐานและสารสำคัญจากพืชสมุนไพร ในโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มหาวิทยาลัยขอนแก่น พื้นที่เขื่อนอุบลรัตน์ จังหวัดขอนแก่น ความผันแปรตามฤดูกาลและลักษณะทางพันธุกรรมของประชาคมแพลงก์ตอนสัตว์ ในพื้นที่ปกปักพันธุกรรมพืชทางทะเล หมู่เกาะแสมสาร จังหวัดชลบุรี (สนองพระราชดำริในโครงการการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ การสำรวจและจัดทำระบบฐานข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ แบบผสมผสาน พื้นที่โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เขาวังเขมร จังหวัดกาญจนบุรี

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก