สืบค้นงานวิจัย
การเพาะเลี้ยงกั้งตั๊กแตน Harpiosquilla raphidea, Fabricius,1798
วีระ เจริญพักตร์ - กรมประมง
ชื่อเรื่อง: การเพาะเลี้ยงกั้งตั๊กแตน Harpiosquilla raphidea, Fabricius,1798
ชื่อเรื่อง (EN): Culture of Mantis Shrimp Harpiosquilla raphidea, Fabricius,1798
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย: วีระ เจริญพักตร์
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: ลูกกั้งตั๊กแตน (Harpiosquilla raphidea เดือนกันยายน ถึง ธันวาคม 2555 โดยอนุบาลลูกกั้งตั๊กแตนจากระยะ ถังละ 400 ลิตร ที่ความหนาแน่น 5 ตัว ที่ 1-3 อนุบาลในถังพลาสติกสีขาวโปร่งแสง น้ําเค็มใส่สารปรับสีน้ํา SUPER VIP อนุบาลในถังพลาสติกสีดําทึบแสง ความเข้มแสงเฉลี่ย ปรับสีน้ํา SUPER VIP และน้ําเค็มใส่แพลงก์ตอนพืช เมื่อสิ้นสุดการทดลองพบว่า ชุดการทดลองที่ 140.25?23.80, 107.25?12.23, 29.2 รอดตายร้อยละ 7.01?1.19, 5.36?0.61 ทดลองซึ่งอนุบาลในถังพลาสติกสีดํา ระยะ post larva เร็วกว่าการอนุบาลในถังสีขาวอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ ปรับสีน้ํา SUPER VIP ได้จํานวนรอดและอัตราการรอดตายของกั้งตั๊กแตนไม่ แต่สูงกว่าการใช้น้ําเค็มใส่ Chaetoceros ลูกกั้งตั๊กแตนในถังสีดํา และการใช้น้ําเค็มปกติหรือใช้น้ําเค็มใส่สารปรับสีน้ํา ของกั้งตั๊กแตนสูงที่สุด และใช้เวลาพัฒนาเจริญเติบโตเข้าสู่ระยะ คําสําคัญ: กั้งตั๊กแตน (Harpiosquilla *ผู้รับผิดชอบ: หมู่ 9 ต.บางกะจะ อ.เมือง e-mail: chanfisheries@yahoo.com การประชุมวิชาการประมง ประจําปี 2558 ผลของความเข้มแสงต่อ ผลผลิต อัตราการรอดตาย และ ระยะเวลาการพัฒนาเข้าระยะ Harpiosquilla raphidea Fabricius, 1798) และ บุญยี่ หมื่นไธสง ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงชายฝั่งจันทบุรี การศึกษาผลของความเข้มแสงต่อ ผลผลิต อัตราการรอดตาย และระยะเวลาการพัฒนาเข้าระยะ raphidea Fabricius, 1798) ดําเนินการ ณ ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงชายฝั่งจันทบุรี โดยอนุบาลลูกกั้งตั๊กแตนจากระยะ nauplii จนเข้าระยะ post ตัว/ลิตร หรือถังละ 2,000 ตัว แบ่งออกเป็น 6 ชุดการทดลอง ๆ ละ อนุบาลในถังพลาสติกสีขาวโปร่งแสง ความเข้มแสงเฉลี่ย 680.31?205.34 ลักซ์ แต่ใช้น้ําแตกต่างกันคือ น้ําเค็มปกติ SUPER VIP และน้ําเค็มใส่แพลงก์ตอนพืช Chaetoceros sp. ตามลําดับ และชุดการทดลองที่ บแสง ความเข้มแสงเฉลี่ย 34.23?28.47 ลักซ์ แต่ใช้น้ําแตกต่างกันคือ น้ําเค็มปกติ และน้ําเค็มใส่แพลงก์ตอนพืช Chaetoceros sp. ตามลําดับ เมื่อสิ้นสุดการทดลองพบว่า ชุดการทดลองที่ 1-6 ได้จํานวนรอดกั้งตั๊กแตนระยะ 29.25?7.80, 220.75?47.64, 248.00?46.30 และ 151.75?17.27 36?0.61, 1.46?0.39, 11.04?2.38, 12.40?2.32 และ 7.59?0.86 พลาสติกสีดํา กั้งตั๊กแตนมีจํานวนรอดและอัตราการรอดตายสูงกว่า และใช้เวลาพัฒนาเจริญเติบโตเข้าสู่ การอนุบาลในถังสีขาวอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (P<0.05) ส่วนการใช้น้ําเค็มปกติและน้ําเค็มใส่สาร ได้จํานวนรอดและอัตราการรอดตายของกั้งตั๊กแตนไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ Chaetoceros sp. อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (P<0.05) ผลการทดลองนี้แสดงให้เห็นว่า ลูกกั้งตั๊กแตนในถังสีดํา และการใช้น้ําเค็มปกติหรือใช้น้ําเค็มใส่สารปรับสีน้ํา SUPER VIP ได้จํานวนรอดและอั ของกั้งตั๊กแตนสูงที่สุด และใช้เวลาพัฒนาเจริญเติบโตเข้าสู่ระยะ post larva สั้นที่สุด
บทคัดย่อ (EN): The effect of light intensity on production, survival rate and metamorphosis period to post stage of mantis shrimp (Harpiosquilla raphidea Research and Development Center during September to December 2012. The 2,000 nauplii mantis shrimp were reared until post larval stage in plastic tank containing of 400 liters sea water which 6 treatments and 4 replications were designed. The 1 translucent plastic tanks (average light intensity 680.31?205.34 lux SUPER VIP and sea water added with reared in black non-translucent color plastic tanks sea water added with SUPER VIP and sea water added with At the end of experiment, the numbers of post larvae mantis shrimp of the 1 were obtained 140.25?23.80, 107.25 individuals, survival rates were 7.01?1.19, respectively. The numbers and survival rates of post larvae mantis shrimp of black non tanks were higher than white translucent plastic tanks as well as the shortest metamorphosis development period with difference significantly The numbers and survival rates of post larvae mantis shrimp between sea water and sea water added with SUPER VIP were non significantly different. Chaetoceros sp. with the difference significantly in black non-translucent plastic tank and rearing with sea water or sea water added with SUPER VIP were better than the others.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2554-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2555-12-31
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: กรมประมง
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การเพาะเลี้ยงกั้งตั๊กแตน Harpiosquilla raphidea, Fabricius,1798
กรมประมง
31 ธันวาคม 2555
กรมประมง
ผลของความเค็มต่อการเจริญเติบโตและการรอดตายของของกั้งตั๊กแตนหางจุด ( Harpiosquilla raphidea (Fabricius, 1798) ผลของความเข้มแสงต่อ ผลผลิต อัตราการรอดตาย และ ระยะเวลาการพัฒนาเข้าระยะ Post larva ของกั้งตั๊กแตน (Harpiosquilla raphidea Fabricius, 1798) ผลของความเค็มต่อการเจริญเติบโตและการรอดตายของของกั้งตั๊กแตนหางจุด ( Harpiosquilla raphidea (Fabricius, 1798) การอนุบาลกั้งตั๊กแตนหางจุด Harpiosquilla raphidea (Fabricius, 1798) การอนุบาลลูกกั้งตั๊กแตนหางจุด Harpiosquilla raphidea (Fabricius, 1798) โดยใช้วิธีการต่างกัน ผลของอาร์ทีเมียต่อผลผลิต อัตราการรอดตาย และเวลาการพัฒนาเข้าระยะโพสท์ลาร์วาของกั้งตั๊กแตน (Harpiosquilla raphidea Fabricius, 1798) การเลี้ยงกั้งตั๊กแตน (Harpiosquilla raphidea Fabricus, 1798) ด้วยอาหารชนิดต่างๆ ชีววิทยาการสืบพันธุ์ของกั้งตั๊กแตน Harpiosquilla raphidea, Fabricius 1798 ในจังหวัดพังงา การทำประมงกั้งตั๊กแตนในจังหวัดตรัง ผลของเมลามีนในอาหารต่อการเจริญเติบโต อัตราการรอดตาย อัตราการเปลี่ยนอาหารเป็นเนื้อ และการเปลี่ยนแปลงพยาธิสภาพในกุ้งกุลาดำ(Penaeus monodon Fabricius,1798)

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก