สืบค้นงานวิจัย
การใช้เทคนิคสนามไฟฟ้าความต่างศักย์สูงกระตุ้นเป็นจังหวะเพื่อเตรียมขั้นต้นในการสกัดสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากต้นอ่อนข้าวก่ำเพื่อป้องกันมะเร็งและการเสื่อมของเซลล์ประสาท (ต่อเนื่องปีที่ 2)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ยงยุทธ เฉลิมชาติ - มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ชื่อเรื่อง: การใช้เทคนิคสนามไฟฟ้าความต่างศักย์สูงกระตุ้นเป็นจังหวะเพื่อเตรียมขั้นต้นในการสกัดสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากต้นอ่อนข้าวก่ำเพื่อป้องกันมะเร็งและการเสื่อมของเซลล์ประสาท (ต่อเนื่องปีที่ 2)
ชื่อเรื่อง (EN): Using pulsed electric fields (PEF) technique as a pretreatment for extraction of bioactive compounds from purple rice sprout for protecting cancer and brain neurodegenaration
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: ผู้ช่วยศาสตราจารย์ยงยุทธ เฉลิมชาติ
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ:   สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน) หรือ สวก. ได้สนับสนุนทุนวิจัยโครงการ “การใช้เทคนิคสนามไฟฟ้าความต่างศักย์สูงกระตุ้นเป็นจังหวะเพื่อเตรียมขั้นต้นในการสกัดสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากต้นอ่อนข้าวก่ำเพื่อป้องกันมะเร็งและการเสื่อมของเซลล์ประสาท (ต่อเนื่องปีที่ 2)” แก่มหาวิทยาลัย เชียงใหม่ โดยมี ผศ.ดร.ยงยุทธ เฉลิมชาติ เป็นหัวหน้าโครงการ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาฤทธิ์ก่อกลายพันธุ์และต้านการกลายพันธุ์ของสารสกัดจากต้นอ่อนข้าวก่ำจากเทคนิค PEF ศึกษาฤทธิ์ต้านภาวะการดื้อต่ออินซูลินในเซลล์ไขมันของสารสกัดต้นอ่อนข้าวก่ำจากเทคนิค PEF และศึกษาเปรียบเทียบฤทธิ์ต้านภาวะการดื้อต่ออินซูลินในเซลล์ไขมันของสารสกัดต้นอ่อนข้าวก่ำจากเทคนิค PEF กับผลิตภัณฑ์ในท้องตลาดที่มีสรรพคุณต้านภาวการณ์ดื้อต่ออินซูลินอย่างน้อย 2 ผลิตภัณฑ์ ได้แก่ สมุนไพรนราห์ของบริษัท เจพี นอร์ทเทิร์นฟาร์ม จำกัด ที่มีสรรพคุณลดน้ำตาลในเลือด จากการศึกษาวิจัยพบว่า จากการสารสกัดที่ได้จากการใชเทคนิคสนามไฟฟ้าความต่างศักยสูงกระตุ้นเป็นจังหวะในการสกัดต้นอ่อนข้าวก่ำนั้น เมื่อนํามาทำใหเป็นผงแหงจะได้สารสกัดหนัก 4.0 กรัม คิดเป็น 0.4 g% ของสารสกัดตั้งตน เมื่อนำมาทดสอบฤทธิ์กอกลายพันธุใน S. typhimurium สายพันธุ TA100 และ TA 98 พบวาที่สารสกัดที่ปริมาณ ตั้งแต่ 500 มก. จนถึง 62.5 มก. มีจำนวน Revertant colony ไม่เกิน 2 เทาของการเกิด colony ของกลุ่มควบคุมลบ (Spontaneous mutation) โดย TA 100 จะมี revertant colony ที่ 117 และ 105 colony/plate ในขณะที่ TA 98 จะมี revertant colony ที่24และ 18 colony/plate เมื่อมีและไม่มีเอนไซม S9 ตามลำดับ ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า สารสกัดตนออนข้าวก่ำนั้นไม่มีฤทธิ์กอกลายพันธุใน S. typhimurium ทั้งสายพันธุ TA100 และ TA98 ในสภาวะที่มีและไม่มีเอนไซมกระตุน ประโยชน์ที่จะได้รับของโครงการนี้ คือ นักวิจัย นักวิชาการ สามารถนำองค์ความรู้ที่ได้ไปใช้ในการพัฒนาการสกัดสารจากตนอ่อนข้าวก่ำ เพื่อนําไปใชประโยชนในด้านการปกปองการเกิดมะเร็งต่อไปได้  
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2558-08-03
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2559-08-02
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
ปีที่ได้รับงบประมาณ (ระบุได้มากกว่า 1 ปี): 2558
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การใช้เทคนิคสนามไฟฟ้าความต่างศักย์สูงกระตุ้นเป็นจังหวะเพื่อเตรียมขั้นต้นในการสกัดสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากต้นอ่อนข้าวก่ำเพื่อป้องกันมะเร็งและการเสื่อมของเซลล์ประสาท (ต่อเนื่องปีที่ 2)
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2 สิงหาคม 2559
การใช้เทคนิคสนามไฟฟ้าความต่างศักย์สูงกระตุ้นเป็นจังหวะเพื่อเตรียมขั้นต้นในการสกัดสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ จากต้นอ่อนข้าวก่ำเพื่อป้องมะเร็งและการเสื่อมของเซลล์ประสาท การใช้เทคนิคสนามไฟฟ้าความต่างศักย์สูงกระตุ้นเป็นจังหวะเพื่อเตรียมขั้นต้นในการสกัดสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากต้นอ่อนข้าวก่ำเพื่อป้องกันมะเร็งและการเสื่อมของเซลล์ประสาท การใช้เทคนิคสนามไฟฟ้าความต่างศักย์สูงกระตุ้นเป็นจังหวะเพื่อเตรียมขึ้นในการสกัดสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากต้นอ่อนข้าวก่ำเพื่อป้องมะเร็งและการเสื่อมของเซลล์ประสาท (ต่อเนื่องปีที่ 2) การพัฒนาข้าวก่ำล้านนาสู่อุตสาหกรรม : การพัฒนาวิธีการสกัดแยกสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากข้าวก่ำ, และการพัฒนาผลิตภัณฑ์มูลค่าเพิ่มจากข้าวก่ำล้านนาสู่อุตสาหกรรม (ต่อเนื่องปีที่ 2) การพัฒนาข้าวก่ำล้านนาสู่อุตสาหกรรม : การพัฒนาวิธีการสกัดแยกสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากข้าวก่ำ, และการพัฒนาผลิตภัณฑ์มูลค่าเพิ่มจากข้าวก่ำล้านนาสู่อุตสาหกรรม แป้งข้าวก่ำดัดแปรและผลิตภัณฑ์จากข้าวก่ำเพื่อประโยชน์ด้านสุขภาพ เชิงป้องกัน การวิจัยคุณลักษณะจาเพาะต่อการแปรรูปของข้าว 84 พันธุ์เพื่อเฉลิมพระเกียรติ- การใช้เทคนิคโปรตีโอมิกส์ศึกษาวิถีการผลิตโปรตีนหลักในเมล็ดข้าวและการเตรียมเปปไทด์ออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากเมล็ดและรำข้าว การติดตามตรวจสอบสารกลุ่มโพลีไซคลิกอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอนในอากาศริมถนนโดยใช้ใบไม้ในเขตจังหวัดนนทบุรี ข้าวให้พลังงานผสานคุณค่าอาหาร แป้งข้าวก่ำดัดแปรและผลิตภัณฑ์จากข้าวก่ำเพื่อประโยชน์ด้านสุขภาพ เชิงป้องกัน

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก