สืบค้นงานวิจัย
การเปลี่ยนแปลงปริมาณสารกาบา และการแสดงออกของตัวรับสารกาบาในอัณฑะของหนูแรทที่ได้รับสารเสพติดเมทแอมเฟตามีน
เสมอ ถาน้อย - มหาวิทยาลัยนเรศวร
ชื่อเรื่อง: การเปลี่ยนแปลงปริมาณสารกาบา และการแสดงออกของตัวรับสารกาบาในอัณฑะของหนูแรทที่ได้รับสารเสพติดเมทแอมเฟตามีน
ชื่อเรื่อง (EN): Alteration of GABA concentrations and the expression of GABA receptors in rat testis after methamphetamine exposure
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: เสมอ ถาน้อย
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Samur Thanoi
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
วิธีการจ้างทำงานวิจัย: ได้รับทุนวิจัย
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2560-10-09
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2561-10-08
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยนเรศวร
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
รายละเอียด: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์หลัก คือเพื่อศึกษาผลของสารเสพติดเมทแอมเฟตามีนต่อการทำงานของระบบสารสื่อประสาทกาบาในอัณฑะของหนูแรท โดยมีวัตถุประสงค์เฉพาะดังนี้คือ - เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงปริมาณสารกาบาในอัณฑะของหนูแรทที่ได้รับสารเสพติดเมทแอมเฟตามีน - เพื่อศึกษาการแสดงออกของตัวรับสารกาบา (GABA receptors) ในอัณฑะของหนูแรทที่ได้รับสารเสพติดเมทแอมเฟตามีน
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การเปลี่ยนแปลงปริมาณสารกาบา และการแสดงออกของตัวรับสารกาบาในอัณฑะของหนูแรทที่ได้รับสารเสพติดเมทแอมเฟตามีน
เสมอ ถาน้อย
มหาวิทยาลัยนเรศวร
8 ตุลาคม 2561
ความผิดปกติของเซลล์สร้างเปิร์มในอัณฑะของหนูแรทโดยการเหนี่ยวนำของระบบสารสื่อประสาทโดปามีนและนอร์อิพิเนฟรีนภายหลังการได้รับสารเสพติดเมทแอมเฟตามีน ผลของสารเสพติดเมทแอมเฟทตามีนต่อพัฒนาการของเซลล์บุท่อสร้างเซลล์อสุจิและเซลล์สร้างฮอร์โมนเพศชาย ในอัณฑะหนูแรท ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาและความเป็นพิษต่อเซลล์ของสารสกัดใบกฤษณาและสารสำคัญต่อระบบหัวใจร่วมหลอดเลือดหนู ผลของระยะเวลาในการงอกต่อปริมาณฟีนอลทั้งหมด กิจกรรมการต้านอนุมูลอิสระ และปริมาณกาบาของข้าวฮางงอก โครงการวิจัยสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ เรื่อง การแปรเปลี่ยนผลงานสร้างสรรค์ของผู้ติดสารเสพติด สู่รูปลักษณ์ใหม่ในการสร้างสรรค์ศิลปะร่วมสมัย ผลของสารสกัดจากข้าวกล้องงอกต่อการแสดงออกของยีนที่เกี่ยวข้องกับการสร้างและการสลายไขมันในเซลล์ไขมัน 3T3-L1 ของหนู ฤทธิ์การคลายตัวของหลอดเลือดและกลไกการออกฤทธิ์ของสารสำคัญสมุนไพรพรมมิในหลอดเลือดแดงส่วนสำไส้หนูขาว ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาและความเป็นพิษต่อเซลล์ของสารสกัดว่านอึ่งต่อระบบหลอดเลือดปอดหนู ผลของสารนารินจินต่อภาวะดื้ออินซูลิน และทำงานของหลอดเลือดในหนูที่ได้รับน้ำตาลฟรุคโตส การศึกษาปริมาณสารฟินอลลิกส์ทั้งหมด สมบัติในการต้านอนุมูลอิสระและสารสำคัญในสารสกัดหยาบจากหนอนตายหยาก

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก