สืบค้นงานวิจัย
การวิเคราะห์ปริมาณสารออกฤทธิ์ในสมุนไพรไทยโดยใช้แสงอินฟราเรดย่านใกล้ (Near infrared spectroscopy)
ชลันธร วิชาศิลป์ - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน
ชื่อเรื่อง: การวิเคราะห์ปริมาณสารออกฤทธิ์ในสมุนไพรไทยโดยใช้แสงอินฟราเรดย่านใกล้ (Near infrared spectroscopy)
ชื่อเรื่อง (EN): Analysis of active compounds in Thai herbs by near infrared spectroscopy (NIR)
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: ชลันธร วิชาศิลป์
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: การวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อพัฒนาการวัดสาร 1-deoxynojirimycin (DNJ) ในหม่อน anthocyanin ในผลเม่า และ curcumin ในขมิ้นชันด้วยเทคโนโลยีอินฟราเรดย่านใกล้ (NIRs) ซึ่งเทคนิคการวัดที่ไม่ทำลายตัวอย่าง รวดเร็วและไม่มีสารเคมีเกี่ยวข้องในการทำนาย จากการใช้ NIRs ร่วมกับเทคนิคการปรับแต่งสเปกตรัมของ chemometrics พบว่า สมการทำนายปริมาณ DNJ ที่สร้างโดย Partial least square regression โดยใช้ cross-validation ให้ค่าความแม่นยำต่ำ ที่ R2 และ SEP เท่ากับ 0.42 และ 31.87 mg/100g ตามลำดับ ส่วนสมการทำนายปริมาณ anthocyanin ที่ปรับแต่งด้วยเทคนิค Multiplication scattering correction ให้ผลที่สุดที่ 2000-2200 nm โดยมี R2 และ SEP เท่ากับ 0.78 และ 0.51 mg/g ตามลำดับ สร้าง chemometrics ที่ได้มีความแม่นยำระดับดีพอใช้ สามารถมาใช้ในการทำนายผลในระดับ screening ค่าการดูดกลืนของ wavelength ที่ 2047 nm น่าจะมาจากการดูดกลืนแสง NIRs ของ anthocyanin เช่นเดียวกับ สมการทำนาย curcumin ซึ่งสามาถนำไปใช้ในการทำนายผลในระดับ screening โดยให้ผลทำนายดีที่สุดเมื่อปรับแต่งสเปกตรัมด้วย smoothing ที่ 1400-2500 nm ให้ผลดีโดยมี R2 และ SEP เท่ากับ 0.68 และ 0.17 mg/g โดยการดูดกลืนแสงมากใน wavelength ที่ 1476, 1665, 1986 และ 2395 nm ตามลำดับ แสดงให้เห็นว่าเทคโนโลยีอินฟราเรดย่านใกล้มีความเหมาะสมในการนำมาใช้วัดปริมาณสารออกฤทธิ์ในสมุนไพรไทยบางชนิดได้
บทคัดย่อ (EN): This study aims to develop new method to detect active compounds in Thai herbs (1-deoxynojirimycin (DNJ) in mulberry leave, anthocyanin in Mao and curcumin in turmeric) using near infrared spectroscopy (NIRs). NIRs is non-destructive technique that rapid, non-chemical involved and low cost determination. By NIRs and chemometrics technique, it was found that the DNJ prediction equation conducted with partial least square regression with cross-validation had low accuracy R2 (0.42) and SEP (31.87 mg/100g). On the other hand , the anthocyanin prediction equation show moderate good results (R2 and SEP of 0.78 and 0.51 mg/g) with Multiplication scattering correction at wavelength of 2000-2200 nm. The high absorption could be observed at wavelength of 2047nm and this model could be used as screening level. For curcumin prediction, the good result was obtained when applied original spectra with smoothing technique. The wavelength of 1400-2500 nm was created regression model with R2 (0.68) and SEP (0.17 mg/g). This model had high NIRs absorption at wavelength of 1476, 1665, 1986 and 2395 nm, respectively. NIRs showed prospective technique for detection of some active compounds in Thai herbs.
วิธีการจ้างทำงานวิจัย: ได้รับทุนวิจัย
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2557-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2558-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การวิเคราะห์ปริมาณสารออกฤทธิ์ในสมุนไพรไทยโดยใช้แสงอินฟราเรดย่านใกล้ (Near infrared spectroscopy)
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน
30 กันยายน 2558
การพัฒนาสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ - ยาสมุนไพรแผนปัจจุบันต้านมะเร็ง- สารนำต้านมะเร็งจากฐานข้อมูลตำรับยาสมุนไพรไทย มโนสร้อย 2 การวิเคราะห์หาปริมาณซาโปนินในสมุนไพรไทยเพื่อใช้เป็นส่วนผสมในสมุนไพรกำจัดแมลงศัตรูพืช การทำนายค่าอินทรียวัตถุ ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียมในดินโดยใช้แสงอินฟราเรดย่านใกล้ วิเคราะห์สารออกฤทธิ์ในชาหม่อน โครงการสำรวจและศึกษาพืชสมุนไพรที่ใช้ในการผลิตยาสมุนไพรไทย การพัฒนาเครื่องต้นแบบตรวจสอบคุณภาพและการปลอมปนเมล็ดพันธุ์ข้าวแบบรวดเร็วด้วยคลื่นแสงอินฟราเรดย่านใกล้แบบเคลื่อนที่ การกักเก็บสมุนไพรไทยเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการต้านจุลินทรีย์และต้านอนุมูลอิสระในอาหารพร้อมบริโภค เทคนิคการตรวจสอบเนื้อแก้วในมังคุดแบบไม่ทำลายโดยวิธีการวัดการดูดกลืนแสงในย่านใกล้อินฟราเรด การใช้สารสกัดจากพืชสมุนไพรไทยเพื่อยืดอายุการเก็บของชิ้นส่วนตัดแต่งเนื้อสัตว์ การพัฒนาผลิตภัณฑ์นาโนที่มีสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากสารสกัดเมล็ดสมุนไพรที่กำลังงอก

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก