สืบค้นงานวิจัย
การคัดเลือกพันธุ์พริกที่ให้ผลผลิตสูงและต้านทานโรค
มนตรี อิสรไกรศีล - มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ชื่อเรื่อง: การคัดเลือกพันธุ์พริกที่ให้ผลผลิตสูงและต้านทานโรค
ชื่อเรื่อง (EN): Screening of Chili varieties for High Yield and Disease Tolerance
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: มนตรี อิสรไกรศีล
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: ชุตโครงการ การผลิตพริกตามมาตรฐานเกษตรตีที่เหมาะสม ประกอบด้วย 3 โครงการย่อย คือ 1) การคัดเสือกพันธุ์พริกที่ให้ผลผลิตสูงและต้านทานโรค 2) การจัดการโรคพริกที่ดีและเหมาะสม และ 3) การจัตการระบบแปลงปลูกพริกและการใช้ปุ๋ยผสมผสานเพื่อการปลูกพริก โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) เพื่อเปรียบเทียบพันธุ์พริกที่ให้ผลผลิตสูงในสภาพพื้นที่ปลูกภาคใต้และมีความต้านทานต่อโรค พืชที่สำคัญ 2) เพื่อศึกษาหาแนวทางที่ดีและเหม มาะสมในการจัดการโรคที่สำคัญของพริก 3) เพื่อ ศึกษาระบบแปลงปลูกที่ตีและเหมาะสมในการปลูกพริกของภาคใต้ 4) เพื่อพัฒนาภูมิปัญญาของ ชุมชนปลูกพริกให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น และเพื่อร่วมวิจัยและร่วมถ่ายทอดเทคโนโลยีการปลูก พริกที่ดีและเหมาะสมสู่เกษตรกรและผู้เกี่ยวข้อง การคัดเลือกพันธุ์พริกที่ให้ผลผลิตสูงและต้านทานโรค โดยการทตสอบปลูกพริก 12 พันธุ์ ได้แก่ 1) พริกห้วยสีทนกัลปพฤกษ์ 2) พริกมันตำขามแก่น 28009 3) พริกมันบางช้าง 4) พริกชี้หนูหัว เรือ ศก.13 5) พริกชี้หนูหัวยสีทน ศก. 1 6 พริกขี้หนูหัวเรือ ศก. 25 7) พริกขี้ฟ้าต้านทานโรคแอน แทรคโนสสายพันธุ์ 04-13 7-26 8) พริกขี้ฟ้าต้านทานโรคแอนแทรคโนสสายพันธุ์ 51-1-51-29 9) พริกชี้ฟ้ต้านทานโรคแอนแทรคโนสสายพันธุ์ 51-1-51-37 10) พริกขี้หนูซุปเปอร์ฮอท (บริษัท ศร แดง จำกัด 11) พริกชี้หนูพันธุ์ทองขาว (บริษัท เจียใตำ จำกัด) และ12) พริกขี้หนูลูกผสมพันธุ์เรดฮอท (RED HOT) (บริษัท ซีดไลน์ จำกัด) พบว่า พันธุ์พริกจากบริษัทเอกชน ทั้ง 3 พันธุ์ ให้ผลผลิตพริก มากกว่าพันธุ์พริกที่ได้รับความด้รับความอนุคราะห์เมล็ตพันธุ์ มหาวิทยาสัยขอนแก่น ศูนย์วิจัยพืช สวนศรีสะเกษ และ ศูนย์วิจัยพีชสวนสุโขทัย ในส่วนของการคัตเลือกพันธุ์พริกที่ต้านทานโรคนั้น พบว่า พันธุ์พริกที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ทั้ง 12 หันธุ์ เป็นพันธุ์พริกที่ยังไม่แสดงความต้านทานโรคพริก ที่สำคัญได้เต่นชัต โตยพบว่า ยังมีการระบาดของโรคที่สำคัญชองพริก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง โรคแอน แทรคโนสที่เกิดจากเชื้อรา Colletotrichum gloeosp sporioides และ C. Copsici เมื่อคัดเลือกพันธุ์ พริก จำนวน 5 พันธุ์ ได้แก่ พริกมันบางช้าง 11027 พริกขี้หนูหัวเรือ ศก. 13 พริกชี้หนูหัวเรือ ศก.25 พริกขี้ฟ้า 51-1-51-29 และพริกขี้หนูซุปเปอร์ฮอท ปลูกในแปลงของเกษตรกรตัวอย่าง พบว่า พริกขี้หนู ซุปเปอร์ฮอพ มีการเจริญเติบโตและให้ผสผลิตสูงกว่าพันธุ์อื่นๆ การจัดการโรคพริกที่ดีและเหมาะสม โตยการใช้การควบคุมโรคโดยชีวิธีด้วยการใช้เชื้อรา Tichodema spp. โตยการตสอบการควบคุมโรคพริกที่สำคัญทั้งในระดับห้องปฏิบัติการ ระดับ โรงเรือนปลูกพืชทดลอง และระดับแปลงปลูกทดลอง พบว่า เชื้อรา Trichoderma spp.ทั้ง 6 สาย พันธุ์ (TS-026, TS 063, TS -083, TS-089, FR-NST-086 และ CB-Pin-01) มีประสิทธิภาพของเชื้อรา Tichoderma spp. ในการยับยั้งและคลุมพับเส้นใยเชื้อราโรคพริกในระตับห้องปฏิบัติการ ทั้ง 4 ขนิด คือ เชื้อรา Pythium aphanidermatum สาเหตุโรคเน่าระดับดินในระยะต้นกล้ำา เชื้อรา Rhizoctonia solani สาเหตุโรคเน่าระดับดิน เชื้อรา Sclerotium rofjsi สาเหตุรครากเน่าโคนเน่า และเชื้อรา Colletotrichum capsici สเหตุโรคแอนแทรคโนส ส่วนการทสอบประสิทธิภาพของเชื้อรา Trichoderma spp. ในการควบคุมโรคของพริกในระดับโรงเรีอนปลูกพืซทดลองและในสภาพแปลงใน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ พบว่า เชื้อรา Trichoderma spp. สามารถตระตับความรุนแรงการเกิดโรคใน พริกได้แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเมื่อเปรียบเทียบกับการไมใช้ การจัดการระบบแปลงปลูกพริกและการใช้ปุ๋ยผสมผสานเพื่อการปลูกพริก พบว่ การใช้เชื้อ ราไตรโคเตอร์มาร่วมกับน้ำหมักชีวภาพสามารถเพิ่มการเจริญเติบโตและผลผลิตของพริกขี้หนูซุปเปอร์ ฮอทไต้ การใช้เชื้อราไตรโคเตอร์มาร่วมกับแคลเชียมสามารถเพิ่มการเจริญเติบโตและผลผลิตชองพริก ขี้หนูพันธุ์หนักบ้านได้ การใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาและแคลเซียม ช่วยลดความรุนแรงของโรคที่สำคัญ ของพริกได้ ดังนั้น การใช้เชื้อราตรโคเตอร์มา น้ำหมักชีวภาพ และแคลเซียม เป็นแนวทางที่ดีในการ เพิ่มผลผลิตของพริกตามมาตรฐานเกษตรตีที่เหมาะสม (Good Agricultural Practice, GAP) สำหรับการอบรมเผยแพร่ผลงานวิจัยให้กับกลุ่มเกษตรกรปลูกพริก ในพื้นที่จังหวัด นครศรีธรรมราช ในช่วง พ.ศ. 2555-2556 ในรูปแบบของการอบรมเชิงปฏิบัติการ "การถ่ายทอด เทคโนโลยีการขยายเชื้อราไตรโคเดอร์มาสายพันธุ์ที่มีประสิทธิภาพสูงเพื่อใช้ควบคุมโรคพืช" มีจำนวน เกษตรกรเข้าร่วมการอบรมทั้งสิ้น 345 คน
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2552-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2554-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การคัดเลือกพันธุ์พริกที่ให้ผลผลิตสูงและต้านทานโรค
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
30 กันยายน 2554
ความพึงพอใจของเกษตรกรต่อคุณลักษณะสายพันธุ์พริกต้านทานโรค กรณีศึกษา โรคใบหงิกเหลือง การคัดเลือกพันธุ์พริกพื้นเมืองอีสานภายใต้ระบบเกษตรอินทรีย์เพื่อการค้า การคัดเลือกพันธุ์พริกต้านทานโรคแอนแทรกโนสในแนวกว้าง การพัฒนาเครื่องหมายในระดับโมเลกุลของลักษณะความต้านทานโรคเหี่ยวเนื่องจากเชื้อ Phytophthora เพื่อการปรับปรุงพันธุ์พริก วิสาสาเหตุของโรคพริกไทยในประเทศไทย การพัฒนาพันธุ์พริกโดยเกษตรกรมีส่วนร่วม ระยะที่ 3 (ปีที่ 2) การปรับปรุงพันธุ์พริกเพื่อต้านทานต่อโรคเหี่ยวเนื่องจากเชื้อ Phytophthora การทดสอบองค์ประกอบผลผลิตและผลผลิตของสายพันธุ์สบู่ดำที่ผ่านการคัดเลือก ด้วยวิธีการต่าง ๆ ที่มีอายุ 2 -4 ปี ใน 3 สภาพพื้นที่ กข49: ข้าวนาชลประทานผลผลิตสูง ต้านทานเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล น้ำพริกหนุ่มที่ผลิตจากพันธุ์พริกปรับปรุง แปรรูปโดยการแช่เยือกแข็งด้วยอัตราเร็วสูงต้นทุนต่ำ เพื่อการถ่ายทอดเทคโนโลยี

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก