สืบค้นงานวิจัย
การส่งถ่ายยีนเข้ากล้วยไม้ โดยใช้ Agrobacterium tumefaciens
ภพเก้า พุทธรักษ์ - มหาวิทยาลัยพะเยา
ชื่อเรื่อง: การส่งถ่ายยีนเข้ากล้วยไม้ โดยใช้ Agrobacterium tumefaciens
ชื่อเรื่อง (EN): Genetic transformation in Orchid via Agrobacterium tumefaciens
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: ภพเก้า พุทธรักษ์
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ: กล้วยไม้
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้เพื่อศึกษาการส่งถ่ายยีนสู่โพรโทคอร์มกล้วยไม้สกุล Dendrobium โดยอาศัย Agrobacterium tumefaciens สายพันธุ์ AGLO (pBI121 หรือ pSCV1.6) สำหรับยีนที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คือ dihydroflavonol 4- reductase gene (DFR) โดยใช้ พลาสมิด pBI121 หรือ pSCV1.6 ที่มีgus gene และ kanamycin resistance gene เป็นยีนรายงานผลตามลำดับ จากการตรวจสอบการแสดงออกของ gus geneพบว่า เนื้อเยื่อที่ได้รับการส่งถ่ายติดสีน้ำเงิน ในขณะที่พบการแสดงออกในระดับการ Transcription ซึ่งทำการตรวจสอบได้ด้วยเทคนิค RT-PCR
บทคัดย่อ (EN): The objectives of this research were to establish transformation procedure for family Dendrobium. by using Agrobacterium tumefaciens AGLO (pBI121 or pSCV1.6). The dihydroflavonol reductase gene (DFR) were constructed in plasmid pBI121 or pSCV1.6which containing gus gene and kanamycin resistance gene as reporter gene respective. The positive results of GUS assay revealed the GUS activity blue while the expression level of Transcription in the technical inspection by RT-PCR.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2551-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2552-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยพะเยา
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การส่งถ่ายยีนเข้ากล้วยไม้ โดยใช้ Agrobacterium tumefaciens
มหาวิทยาลัยพะเยา
30 กันยายน 2552
การศึกษาความหลากหลายของกล้วยไม้ที่พบในมหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยาด้วยลายพิมพ์ดีเอ็นเอโดยใช้เทคนิค AFLP (Amplified Fragment Length Polymorphism) การพัฒนาราไมคอร์ไรซากล้วยไม้เป็นชีวภัณฑ์เพื่อการปลูกและขยายพันธุ์กล้วยไม้เชิงพาณิชย์ การพัฒนาราไมคอร์ไรซากล้วยไม้เป็นชีวภัณฑ์เพื่อการปลูกและขยายพันธุ์กล้วยไม้เชิงพาณิชย์ การศึกษาเปรียบเทียบต้นทุนการผลิตกล้วยไม้แบบเกษตรดีที่เหมาะสมกับแบบทั่วไป โครงการการเพาะเมล็ดกล้วยไม้รองเท้านารีในสภาพปลอดเชื้อ การขยายสายพันธุ์กล้วยไม้รองเท้านารีโดยเทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ การศึกษา ต้นทุนและผลตอบแทนจากการปลูกกล้วยไม้ ระหว่าง สกุลหวาย (Dendobium) สายพันธุ์ บอม (Bom) และสกุลออนซิเดียม (Onciduim) สายพันธุ์โกลเด้น ชาวเวอร์ (Golden Shower) ของเกษตรกร ใน ตำบลเกษตรพัฒนา อำเภอบ การวิเคราะห์ชนิดของเม็ดสีแอนโทไซยานิน ในกล้วยไม้ป่า และกล้วยไม้ตัดดอกของไทย เพื่อการปรับปรุงพันธุ์ การวิเคราะห์การทำงานของยีนที่ใช้ในการสังเคราะห์สารเคอร์คูมินอยด์ในขมิ้นชันโดย RNA interference การประยุกต์ใช้ระบบเพาะเลี้ยงแบบจมชั่วคราวในการผลิตกล้วยไม้ในปริมาณมาก

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก