สืบค้นงานวิจัย
ประสิทธิภาพของการป้องกันกำจัดโรคพืชประเภทดูดซึมบางชนิดต่อเชื้อรา Phytophthora parasitica NK1 สาเหตุโรคโคนเน่าของพลู
เอี่ยน ศิลาย้อย - กรมวิชาการเกษตร
ชื่อเรื่อง: ประสิทธิภาพของการป้องกันกำจัดโรคพืชประเภทดูดซึมบางชนิดต่อเชื้อรา Phytophthora parasitica NK1 สาเหตุโรคโคนเน่าของพลู
ชื่อเรื่อง (EN): Effectiveness of Systemic Fungicides for Control of Phytophthora parasitica NK1 in Foot Rot of Piper betle
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: เอี่ยน ศิลาย้อย
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Ian Silayoi
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย: ประเสริฐ เคร่งเปี่ยม และอัญชลี ดิษฐบรรจง
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย (EN): Prasert Krengpiem and Aunchalee Distabanjong
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: โรคโคนเน่าได้แพร่ระบาดทำความเสียหายต่อการปลูกพลูเป็นอย่างมากที่จังหวัดหนองคาย สาเหตุเกิดจากเชื้อรา Phytophthora parasitica Dast. ได้ทำการทดสอบประสิทธิภาพของสารป้องกันกำจัดโรคพืชประเภทดูดซึม 5 ชนิด โดยวิธี fungal disk ผลจากการทดลองปรากฎว่า สารป้องกันกำจัดโรคพืชที่สามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อรานี้ได้ผล 100% คือ chev. RE-20615 (15% WP) และ benalaxyl (Galben 10% WP) ที่ 10, 25, 50, 100, 250, 500 ppm ai.; etridiaole (Terrazole 35% WP) ที่ 50, 100, 250, 500 ppm ai.; metalzxyl (Ridomil 25% WP) ที่ 500 ppm ai. สำหรับ fosetyl aluminum (Aliette 80% WP) ไม่สามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อรานี้ได้ผล 100% ทุกอัตราความเข้มข้น
บทคัดย่อ (EN): Using a bio-asay technique, the effectiveness of fice systemic fungicides was assessed for the control of growth and development of the isolate NK1 of Phytophthora parasitica, the cause of foot rot of betel vine (Piper betle Linn.) in Nongkhai province of Thailand. The assessment was made by recording the radial growth of fungal colonies on fungicide treated potato dextrose agar. Growth and development of the fungal colonies was completely inhibited on media treated with chev. RE-20615 (15% WP) and benalaxyl (Galben 10% WP) at rates as low as 10 ppm a.i., by etridiazole (Terrazole 35% WP) at 50 ppm a.i., and metalaxyl (Ridomil 25% WP) at 500 ppm a.i. fosetyl aluminium (Aliette 80% WP) was unable to completely inhibit growth even at a rate of 500 ppm a.i.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2528
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2528
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: กรมวิชาการเกษตร
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ประสิทธิภาพของการป้องกันกำจัดโรคพืชประเภทดูดซึมบางชนิดต่อเชื้อรา Phytophthora parasitica NK1 สาเหตุโรคโคนเน่าของพลู
กรมวิชาการเกษตร
2528
เอกสารแนบ 1
การพัฒนาผลิตภัณฑ์สารสกัดพืชชนิดน้ำควบคุมเชื้อราสาเหตุโรคพืช obligate parasites กลุ่ม latent infection และสารสกัดพืชชนิดผง กำจัดแมลงศัตรูพืชในดิน (ปีที่ 3) การพัฒนาผลิตภัณฑ์สารสกัดพืชชนิดน้ำควบคุมเชื้อราสาเหตุโรคพืชกลุ่ม obligate parasites กลุ่ม latent infection และสารสกัดพืชชนิดผง กำจัดแมลงศัตรูพืชในดิน ประสิทธิภาพของเชื้อแบคทีเรียปฏิปักษ์บริเวณรอบรากผักกระเฉด ที่ผลิตสารทุติยภูมิเพื่อยับยั้งเชื้อราสาเหตุโรคพืชทางดิน การใช้ประโยชน์จากไรโซแบคทีเรียเพื่อส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืชและควบคุมเชื้อราสาเหตุของโรคพืช การใช้ไคโตซานในการควบคุมการเจริญเติบโตของเชื้อราสาเหตุโรคพืชในเมล็ดพันธุ์ (ระยะที่ 2) การปรับปรุงวิธีการที่เหมาะสมต่อการจัดจำแนกวงศ์วานวิวัฒนาการของเชื้อราในกลุ่ม Colletotrichum ที่เป็นสาเหตุที่สำคัญของโรคพืช โครงการวิจัยและพัฒนาชีวภัณฑ์เกษตรและผลิตภัณฑ์สำหรับการปลูกพืชเพื่อลดการใช้สารเคมีบนพื้นที่สูง โครงการย่อยที่ 5การพัฒนาผลิตภัณฑ์สารสกัดพืชชนิดน้ำควบคุมเชื้อราสาเหตุโรคพืช obligate parasites กลุ่ม laten ประสิทธิภาพของสารกำจัดเชื้อราประเภทดูดซึมบางชนิดต่อการเจริญเติบโตของเชื้อรา Phytophthora parasitica KK8 ซึ่งเป็นสาเหตุโรคโคนเน่าของพลู การสกัดสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากใบพลูด้วยคลื่นไมโครเวฟ พืชอาศัยบางชนิดของเชื้อราสาเหตุโรคเหี่ยวและโรคเน่าแดงของอ้อย

แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก