สืบค้นงานวิจัย
ศักยภาพในการใช้พรีไบโอติคจากแก่นตะวัน (Helianthus tuberosus L.) ในอาหารสัตว์ต่อระบบภูมิคุ้มกันและประสิทธิภาพการให้ผลผลิต
ปราโมทย์ แพงคำ - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
ชื่อเรื่อง: ศักยภาพในการใช้พรีไบโอติคจากแก่นตะวัน (Helianthus tuberosus L.) ในอาหารสัตว์ต่อระบบภูมิคุ้มกันและประสิทธิภาพการให้ผลผลิต
ชื่อเรื่อง (EN): Enhancing utilization prebiotics from Jerusalem artichoke (Helianthus tuberosus L.) in animal feed on immunology system and productive performances
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: ปราโมทย์ แพงคำ
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: การทคลองแบ่งออกเป็น 2 โครงการย่อย คือโครงการย่อยที่ 1 การใช้แก่นตะวันในอาหารแกะต่อ จุอินทรีย์ไนระบบ ทางเดินอาหาร และประสิทธิภาพการให้ผลผลิต และโครงการย่อยที่ 2 สักยภาพของการ ใช้อินูลินเป็นอาหารสริมชีวนะทางเลือกสำหรับปลานิล โครงการย่อยที่ 1 การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกยาการใช้แก่นตะวันในอาหารแกะ ต่อ ประสิทธิภาพการใช้อาหาร ระบบการย่อยได้ กระบวนการหมักในรูเมน และประสิทธิภาพการเจริญเติบโต ของแกะ การทดลองใช้แกะ ชำนวน 8 ตัว อายุระหว่าง -12 เตือน น้ำหนักเฉสี่ย 32.4 + 5.5 kg วางแผนการ ทคลองแบบ Replicated 4 x 4 Latin square design ไดช โดขแกะให้แกะกินอาหารแบบเต็มที่ และอาหารขันที่ ระดับ 1.5 % ของน้ำหนักตัวและได้รับอาหารทดลอง ง กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มที่ ! กลุ่มควบคุม แกะไส้รับอาหารชัน ไม่มีการเสริมสารใดๆ กลุ่มที่ 2 กลุ่มควบคุม + inulin 2 % กลุ่มที่ 3 กลุ่มควบคุม + ผงแก่นตะวัน 2 % และ กลุ่มที่ 4 กลุ่มควบคุม + ผงแก่นตะวัน 4* ผลการศึกษาพบว่ ให้แกะ มีปริมาณการกินได้อาหารหยาบ อาหารข้น และอาหารทั้ รทั้งหมด ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ (P-0.05) การย่อยได้ของวัตถุแห้ง อินทรียวัตถุ และไขมัน ไม่มีความแตกต่งกันทางสถิติ (P>0.05) อย่างไรก็ตาม พบว่าแกะ ในกลุ่มที่ได้รับพรีไบโอติกทุก กลุ่ม (T2= 2% inulin, T3= 2% Jerusalem artichoke, T4= 4% Jerusalem artichoke) มีค่าการย่อยได้ของ โปรตีนสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P-0.05) โดยมีค่าอยู่ในช่วง 53.4-59.7% การศึกษาใน ครั้งนี้ยังพบว่า ค่าการย่อยได้ของ NDF ในแกะกลุ่มที่ด้รับการเสริม แก่นตะวัน 2 % มีคำสูงกว่ากลุ่มอื่น อย่าง มีนัยสำคัญทางสถิติ (P-0.05) ในขณะที่กลุ่มที่เสริมอิบูสินสังเคราะห์มีค่าต่ำกว่ากลุ่มอื่นอย่างมีนัยสำศัญทาง สถิติ (P*0.05) ค่ความเป็นกรด-ค่างในรูเมน และค่แอมโมเนีย-ในโตรเจนในชั่โมงที่ 02 และ 4 หลังการ ให้อาหาร พบว่ในทุกกลุ่มไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ (P>0.05) ปริมาณการกินได้ของในโตรเจน (N intake, g/4) ของแกะแต่ละกลุ่มการทด คลองไม่มีความ มแตกต่างกันทางสถิติ (P>:0.05) เช่นเดียวกับไนโตรเจนที่ ขับออกมาทางปัสสาวะ และในโตรเจนที่ขับออกมาทั้งหมด พบว่าไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ ส่วน ในโตรเจนที่ขับออกมากับมูลพบว่าแกะกลุ่มควบคุมมีค่าสูงกว่ากลุ่มอื่นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P0.05) องค์ประกอบทงเคมีของตัวปลา ได้แก่ ค่ความชื้นไปรตีน ไขมัน และเถ้ของปลาทุกกลุ่มทดลองมีค่า ใกล้เคียงกัน (P:0.05) การเสริมอินูลินและการเสริมแค่นตะวันในอาหารทำให้ปลามีค่จำนวนเม็ดเลือดแดง สูงขึ้น (P:0.05) และการเสริมแก่นตะวันที่ระดับ 10 กรัมต่อกิไลกรัมอาหารเป็นระยะเวลา 16 สัปดาห์ ทำให้ ค่าฮีไมไกลบินและฮืมาใตคริดสูงขึ้น (P:0.05) การศึกษานี้ด้ทำการวิเคราะห์ต่ำเคมีในเลือด 14 ค่ และ พบว่าการเสริมอินูลินและการเสริมแก่นตะวันทำให้ค่ากลูใส อัลบูมิน ไปรตื่น แมกนีเซียม แคลเซียม และ เหล็กในเลือดเพิ่มสูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P:0.05) อย่างไรก็ดามการเสริมอินูสินและการเสริมแก่น ตะวันในอาหารไม่มีผลต่อค่าตอเลสเตอรอล ไตรกดซอไรค์ เรีขในเลือด ต่าบิลิรูบิน ค่าดัชนีดับ SGOT และ SGPT การเสริมอินูสินที่ระดับ s กรัมต่อกิไลกรัมอาหารทำให้ค่าการทำงานของไถ ไซไซม์ และต่ alernative complemen hacmolytic 50 (ACH 50) เพิ่มสูงขึ้น (P-0.05) การเสริมแค่นตะวันในอาหารทำให้ปริมาณอิมมู ในใกลมูสินรวม คำการทำงานของไลไซไซม์ และค่ ACH 50 เพิ่มสูงขึ้น (P~:0.05) การเสริมอินูสินและการ เสริมแค่นตะวันทำให้ลำไส้มีวิลไลสูงขึ้นและมีจำนวมเซลล์ไกเบล็ทสูงขึ้น (P-0.05)และส่งผลต่อการ เปลี่ยนแปลงประชากรจุลินทรีย์ในลำไส้ปลา การเสริมพรีไบไอติกอิบูลินและแก่นตะวันทำให้จำนวน lactic acid bacteria และ Bjfidobacteria สูงขึ้น และ Vibrio ลดลง จากผลการทคล ลองนี้สรุปได้ว่าการเสริมอินูสินใน อาหารที่ระดับ s กรัมต่อกิใลกรัมอาหาร และการเสริมแค่นตะวันในอาหารที่ระดับ 5 - 10 กรัมต่อกิไลกรัม อาหารมีประไชชน์ต่อการพัฒนเริญเติบไดและสุขภาพปลานิล ดังนั้นทั้งอินูลินและแก่นตะวันสามารถใช้ เป็นสารเสริมพรี ไบ ไอติกส์ให้กับปลา
บทคัดย่อ (EN): The experiments were consisted 2 subproject; subproject 1, utilization of Kaentawan in sheep feed on digestive microorganisms and productive performances, and subproject 2, the potential for supplemental inulin as an alternative prebiotic for Nile tilapia.. d Subproject 1: The aim of this study were to investigate inulin from commercial and Jerusalem artichoke (Helianthus tuberosus L.) on feed intake, digestibility, nitrogen retention and rumen fermentation of sheep fed with pangola (Digitaria eriantha) hay and pelleted concentrate. Four growing sheep between 10-12 months of age and pre-trial average body weight of 32.4 ? 5.5 kg in a 4*4 Latin square design. The four concentrate treatments were control (T1), T2=control plus 2% Chicory in concentrate, T3=control plus 2% Jerusalem artichoke and 4% Jerusalem artichoke (T4) in concentrate. The results showed that the addition of chicory and Jerusalem artichoke powder. There were no significant effects on the addition of chicory and Jerusalem artichoke powder of on feed intake and dry matter and organic matter and digestibility. Acid detergent fiber digestibility of sheep fed with chicory or Jerusalem artichoke was decreased (p 0.05) among treatments. The average ruminal pH values were ranged between 6.88 to 7.56 and were neither affected by sources of inulin are chicory and Jerusalem artichoke. Ruminal NH3 -N, blood urea nitrogen (BUN ruminal bacteria and population of all dietary treatments were not significantly different statistically (p> 0.05). Nitrogen retention of sheep fed with chicory and Jerusalem artichoke were significantly higher (P0.05). The body chemical composition including moisture, protein, lipid and ash of fish in all groups appeared to be similar (P>0.05). Dietary inulin and JA increased red blood cell number, and dietary inulin at 10 g kg–1 for 16 weeks increased haemoglobin and haematocrit (P0.05). Inulin supplementation at 5 g kg–1 improved lysozyme activity and alternative complement haemolytic 50 (ACH50) activity (P<0.05). Dietary JA increased total immunoglobulin content, lysozyme activity, and ACH50 activity (P<0.05). Dietary inulin or JA increased the height of intestinal villi and goblet cell number (P<0.05). Inulin or JA supplementation affected the population of intestinal microbiota. Supplementation of either inulin or JA led to increase intestinal lactic acid bacteria and Bifidobacteria and decrease Vibrio number. These findings indicate that inulin at 5 g kg–1 or direct supplementation with JA at 5-10 g kg–1 had positive effects on growth and health of Nile tilapia. Thus, both inulin and JA have great potential for use as prebiotics in fish feed
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2555-05-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2556-04-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ศักยภาพในการใช้พรีไบโอติคจากแก่นตะวัน (Helianthus tuberosus L.) ในอาหารสัตว์ต่อระบบภูมิคุ้มกันและประสิทธิภาพการให้ผลผลิต
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
30 เมษายน 2556
การพัฒนาการผลิตวัคซีนและสารเสริมอาหารโดยเทคนิคการตรึงเพื่อกระตุ้นภูมิคุ้มกันของปลาทะเลต่อปรสิตสัตว์ น้ำหรือแบคทีเรีย อาหารสัตว์กับการพัฒนาคุณภาพชีวิตเยาวชนไทย การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารสุขภาพและเวชสำอางเพื่อเพิ่มมูลค่าข้าวพันธุ์พื้นเมืองที่มีสีโดยการปลูกแบบเกษตรอินทรีย์ การใช้แก่นตะวันในอาหารแกะต่อจุลินทรีย์ในระบบทางเดินอาหาร และประสิทธิภาพการให้ผลผลิต อิทธิพลของการใช้ส่วนขยายพันธุ์ต่อการงอกการเจริญเติบโตและการให้ผลผลิตของแก่นตะวัน (Helianthus tuberosus L.) แก่นตะวัน (Helianthus tuberosus L.) : พืชชนิดใหม่ใช้เป็นพลังงานทดแทน การเปรียบเทียบประสิทธิภาพการใช้ประโยชน์จากอินูลินจากหัวแก่นตะวันและชิโครี่เพื่อใช้เป็นพรีไบโอติคในอาหารปลานิลวัยอ่อน การศึกษาปริมาณการใช้น้ำของแก่นตะวัน การใช้ “ กากมะเขือเทศ ” เป็นอาหารสัตว์ ประสิทธิภาพการผลิตแพะตามกิจกรรมศูนย์ผลิตและกระจายแพะพันธุ์ดี

แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก