สืบค้นงานวิจัย
ศึกษากระบวนการผลิตงางอกร่วมกับการออกแบบและสร้างเครื่องคั่วงางอกเพื่อการเพิ่มมูลค่าผลิตผลทางการเกษตร
สุนัน ปานสาคร - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
ชื่อเรื่อง: ศึกษากระบวนการผลิตงางอกร่วมกับการออกแบบและสร้างเครื่องคั่วงางอกเพื่อการเพิ่มมูลค่าผลิตผลทางการเกษตร
ชื่อเรื่อง (EN): Study the process of germinated sesame inclusive with design and construction the sesame roaster for improve value added of agricultural product
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: สุนัน ปานสาคร
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย: จตุรงค์ ลังกาพินธุ์
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: งาเป็นธัญพืชที่มีคุณค่าอาหารสูง โดยเฉพาะเป็นธัญพืชที่มีกรดไขมันไม่อิ่มตัวสูงและมีธาตุ อาหารที่สำกัญ เช่น แคลเชียม ฟอสฟอรัสและเหล็ก จากรายงานวิจัยในอดีตพบว่าการทำงอกเมล็ด ธัญพืชส่งผลต่อการเพิ่มขึ้นของคุณค่ทางอาหาร ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงมุ่งเน้นศึกษากระบวนการผลิตงา งอกร่วมกับการออกแบบและสร้างเครื่องกั่วงางอกเพื่อการเพิ่มมูลค่าผลิตผลทางการเกษตร จากการ ทดลองผลิตงางอกจากงาคำ-แคงพันธุ์เกษตรพื้นเมือง โดขทคลองแช่ในน้ำที่มีค่าความเป็น กรด-ด่าง ระหว่าง 4 และ 6 ที่เวลาการแช่ 2-4 ชั่วโมง ณ อุณหภูมิห้อง (27 + 2C) ร่วมกับการบ่ม 20-22 ชั่วโมงที่ อุณหภูมิเดิม รวมถึงพิจารณากับกรณีการแช่ 24 ชั่วโมง โดยเปรียบเทียบผลการเปลี่ยนแปลงคุณภาพทั้ง ทางกายภาพและทางเคมีของงางอกที่ได้กับงาไม่ผ่านกระบวนการงอก จากการทดลองพบว่าการแช่งา ในน้ำ ,H 4 เป็นเวลา 2 ชั่วโมงร่วมกับการบ่ม 22 ชั่โมง ที่อุณหภูมิห้อง ให้ค่ปริมาณกรดแกมมาอะมิ โนบิวทิริก (GABA) เพิ่มขึ้นถึง 8 เท่า เมื่อเที่ยบกับงไม่ได้ผ่านการทำงอก ในส่วนการออกแบบและ สร้างเครื่องคั่วงางอก ซึ่งการดั่วงามักพบปัญหาเมล็ดงาสุกไม่สม่ำเสมอและหากใช้แรงงานคนจะพบ ปัญหาเรื่องความเมื่อยล้า ดังนั้นการออกแบบเครื่องคั่วงาเพื่อแก้ปัญหาคังกล่าว โคยเครื่องคั่งงาที่ได้ ออกแบบและสร้างขึ้นนี้นำมาทดสอบกับการคั่วเมล็ดงางอก สามารถคั่วงางอกได้ 1-2 กิโลกรัม ใช้เวลา ประมาณ 50-60 นาที จากการทดลองหาสภาวะที่เหมาะสมพบว่าที่การการคั่วงางอก 100 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 60 นาที ความเร็วรอบของถังหมุน 16 รอบต่อนาที ที่สภาวะนี้ให้ผลิตภัณฑ์งางอกที่คุณภาพดี มื กลิ่นหอม และยังคงคุณค่าทางอาหารสูงโดยเฉพาะกรดแกมมาอะมิโนบิวทิริก (GABA)
บทคัดย่อ (EN): Sesame seeds are rich in nutrient content especially higher in unsaturated lipid group. Moreover, sesame seed are rich in calcium, phosphorus and iron. The previous research found that, germinated process could be improved in some of nutrients. Therefore, the present study was undertaken to investigate the process of germinated sesame inclusive with design and construction the sesame roaster for improve value added of agricultural product. From the experiment, sesame seed (black and red local variety) were soaked in water which controlled pH value in range 4-6 for 2-4 hours at room temperature (27+2*C). After that, sesame seed were carried out from soaking process and incubated at the same temperature for 20-22 hours. Moreover, sesame seeds were soaked in water alone for 24 hours also investigated too. Changes in the physicochemical properties were compared between geminated sesame and ungeminated sesame. The results indicated that soaking condition at pH 4 for 2 hours and combined with incubated process 22 hours at room temperature (27+2C), resulted in a greater gamma-aminobutyric acid (GABA) of germinated sesame for 8 times compared with ungerminated sesame seed. In part of design and construction the sesame roaster found that it is difficult to roast sesames because there are charred, cooked or still raw after roasting. Moreover, uses much labor to roast them effectively. Consequently, design and construction the sesame roaster for reduce their problems. It was found that the prototype sesame roaster was tested with germinated sesame and can roast 1-2 kg within 50-60 min. Analysis of experiments showed that the optimum condition was observed roast sesame at 100*C for 60 min and 16 rpm of cylinder container. At this condition germinated sesame seeds will bring about good qualities and better smell. Besides, preserve higher in nutrients especially gamma-aminobutyric acid (GABA).
วิธีการจ้างทำงานวิจัย: ได้รับทุนวิจัย
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2552-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2553-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ศึกษากระบวนการผลิตงางอกร่วมกับการออกแบบและสร้างเครื่องคั่วงางอกเพื่อการเพิ่มมูลค่าผลิตผลทางการเกษตร
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
30 กันยายน 2553
พันธุศาสตร์ของลักษณะทางการเกษตรต่างๆ ในงา พัฒนากระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์งางอกร่วมกับการคั่ว เพื่อการเพิ่มมูลค่าผลผลิตทางการเกษตร ศักยภาพการผลิตปลากัดไทยของจังหวัดฉะเชิงเทราเพื่อเป็นสินค้า OTOP และการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตปลากัดไทย จำนวนโครโมโซมของงาที่ผ่านการฉายรังสีด้วยวิธีการเพิ่มชุดโครโมโซมโดยใช้โคลชิซิน การพัฒนาบรรจุภัณฑ์เนื้อหมูแปรรูปสมุนไพรเพื่อเพิ่มมูลค่าและสร้างเสริมโอกาสทางเศรษฐกิจ การพัฒนากระบวนการผลิตและการตลาดผลิตภัณฑ์แปรรูปน้ำพริกแกงชุมชนบ้านทอน – อม อำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร การวิจัยการผลิตไพลแบบบูรณาการ แนวทางการเพิ่มมูลค่าแคนตาลูปที่ไม่ได้มาตรฐานการส่งออกในจังหวัดสระแก้ว: การพัฒนากระบวนการผลิตไซรัปแคนตาลูปที่มีสารต้านอนุมูลอิสระสูง การเพิ่มมูลค่าใบพริกไทยอินทรีย์วัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรสู่ผลิตภัณฑ์น้ำหมักสมุนไพรเสริมจุลินทรีย์โพรไบโอติกเชิงพาณิชย์ ศูนย์สาธิตและถ่ายทอดเทคโนโลยีพลังงานเพื่อการเกษตร

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก