สืบค้นงานวิจัย
คู่มือการบริหารจัดการน้ำโดยเกษตรกรมีส่วนร่วมจัดตั้งกลุ่มผู้ใช้น้ำ พร้อมจัดฝึกอบรมและให้ค้าแนะนำกลุ่มผู้ใช้น้ำ ของสำนักงานชลประทานที่ 9
สำนักงานชลประทานที่ 9 กรมชลประทาน - กรมชลประทาน
ชื่อเรื่อง: คู่มือการบริหารจัดการน้ำโดยเกษตรกรมีส่วนร่วมจัดตั้งกลุ่มผู้ใช้น้ำ พร้อมจัดฝึกอบรมและให้ค้าแนะนำกลุ่มผู้ใช้น้ำ ของสำนักงานชลประทานที่ 9
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: สำนักงานชลประทานที่ 9 กรมชลประทาน
บทคัดย่อ: องค์กรผู้ใช้น้ำชลประทาน หมายความว่า องค์กรที่เกิดขึ้นจากการที่เกษตรกรผู้ใช้น้ำในเขตรีบน้า ชลประทานได้รวมตัวกันจัดตั้งขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการจัดการน้ำและบ้ารุงรักษาระบบชลประทาน ซึ่งแบ่ง ตามสถานภาพด้านกฎหมายออกเป็น 2 ประเภทคือ 1. ประเภทไม่เป็นนิติบุคคล ได้แก่ - กลุ่มผู้ใช้น้าชลประทาน (กลุ่มพื้นฐาน) - กลุ่มบริหารการใช้น้าชลประทาน 2. ประเภทเป็นนิติบุคคล ได้แก่ - กลุ่มเกษตรกรผู้ใช้น้ำชลประทาน - สมาคมผู้ใช้น้ำชลประทาน - สหกรณ์ผู้ใช้น้ำชลประทาน กลุ่มผู้ใช้น้าชลประทาน (Water Users Group : WUG) หมายความว่า องค์กรผู้ใช้น้า ชลประทานที่มีขอบเขตพื้นที่องค์กรฯ ครอบคลุมพื้นที่ส่งน้า 1 พื้นที่ หรือคูน้า 1 สาย โครงสร้างองค์กรประกอบด้วย หัวหน้ากลุ่ม 1 คน (อาจมีผู้ช่วยตามความจ้าเป็น) และสมาชิกผู้ใช้น้า โดยพื้นที่หนึ่งกลุ่มผู้ใช้น้าไม่ควรมากเกิน 1,000 ไร่ กลุ่มบริหารการใช้น้ำชลประทาน (Integrated Water Users Group : IWUG) หมายความว่า องค์กรผู้ใช้น้าชลประทานที่มีพื้นที่องค์กรครอบคลุมพื้นที่คลองส่งน้าสายใหญ่ หรือคลองซอย หรือคลองแยกซอย หรือ โซนส่งน้า 1 โซน หรืออาจจะครอบคลุมพื้นที่ทั้งโครงการชลประทาน แต่มากที่สุดไม่ควรเกิน 20,000 ไร่ ต่อหนึ่ง องค์กร โดยโครงสร้างกลุ่มบริหารการใช้น้าชลประทาน ประกอบด้วยกลุ่มพื้นฐานหลายกลุ่มที่ใช้น้าจากแหล่งน้าหรือ คลองสายเดียวกัน มีการบริหารในรูปคณะกรรมการที่เลือกมาจากสมาชิกผู้ใช้น้า เพื่อจัดการน้าจากแหล่งน้าหรือคลอง ส่งน้าสายใหญ่ หรือคลองซอย หรือคลองแยกซอย หรือโซนส่งน้ารวมทั้งในระดับคูน้า กลุ่มเกษตรผู้ใช้น้าชลประทาน (Farmer Group : FG) หมายความว่า องค์กรผู้ใช้น้าชลประทานที่ จดทะเบียนจัดตั้งเป็นกลุ่มเกษตรกรไว้กับนายทะเบียนกลุ่มเกษตรกรประจ้าจังหวัดแห่งท้องที่ที่จะจัดตั้ง ตามแบบที่ นายทะเบียนสหกรณ์กำหนด โดยอาศัยพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยกลุ่มเกษตรกร พ.ศ. 2547 มีวัตถุประ สงค์หลักเพื่อ ช่วยเหลือซึ่งกันและกันในการประกอบอาชีพเกษตรกรรม อันได้แก่ การท้านา ท้าไร่ ท้าสวน ประมง และเลี้ยงสัตว์ เป็นต้น ซึ่งในการด้าเนินการผลิตการค้า การบริการ และการด้าเนินธุรกิจอื่นๆ นั้น สามารถน้าเงินก้าไรสุทธิประจ้าปี ที่เหลือจากการกันไว้เป็นทุนส้ารองมาแบ่งเป็นเงินปันผลตามหุ้นที่ช้าระแล้ว หรือเป็นเงินเฉลี่ยคืนให้แก่สมาชิกตาม ส่วนธุรกิจที่สมาชิกได้ท้าไว้กับกลุ่มเกษตรกรในระหว่างปี หรือเป็นเงินโบนัสแก่กรรมการผู้ตรวจสอบกิจการ และ เจ้าหน้าที่ของกลุ่มเกษตรกรตามที่ก้าหนดในข้อบังคับฯ สมาคมผู้ใช้น้าชลประทาน (Water Users Association : WUA) หมายความว่าองค์กรผู้ใช้น้า ชลประทานที่จดทะเบียนจัดตั้งเป็นสมาคมผู้ใช้น้าชลประทานไว้กับกระทรวงมหาดไทย ภายใต้ประมวลกฎหมายแพ่ง และพาณิชย์ พ.ศ. 2535 บรรพ1 ลักษณะ2 หมวด 2 ส่วนที่ 2 ว่าด้วย “สมาคม” มาตรา 78-109 มีขอบเขตพื้นที่ และโครงสร้างการบริหารองค์กรฯ เช่นเดียวกับกลุ่มบริหารการใช้น้าชลประทาน มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อกระท้าการ ใดๆ อันมีลักษณะต่อเนื่องร่วมกัน (ซึ่งอาจจะเน้นการจัดการน้าชลประทานเป็นส้าคัญ) โดยมิใช่เป็นการหาผลก้าไรหรือ รายได้มาแบ่งปันกัน สหกรณ์ผู้ใช้น้าชลประทาน (Water Users Co-operative : WUC) หมายความว่า องค์กรผู้ใช้ น้าชลประทานที่จดทะเบียนจัดตั้งเป็นสหกรณ์ผู้ใช้น้าชลประทานไว้กับกรมส่งเสริมสหกรณ์ โดยอาศัยพระราชบัญญัติ สหกรณ์ พ.ศ. 2542 มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการจัดการน้าชลประทาน การด้าเนินธุรกิจสามารถน้าผลก้าไรมาแบ่งปัน กันได้ ขอบเขตพื้นที่รับผิดชอบของสหกรณ์ผู้ใช้น้าชลประทาน การด้าเนินธุรกิจสามารถน้าผลก้าไรมาแบ่งกันได้ ขอบเขตพื้นที่รับผิดชอบของสหกรณ์ผู้ใช้น้าชลประทาน ครอบคลุมเช่นเดียวกับกลุ่มบริหารการใช้น้าชลประทาน และ มีโครงสร้างการบริหารองค์กรฯ ในเรื่องการบริหารจัดการน้า เช่นเดียวกับกลุ่มบริหารการใช้น้าชลประทาน คณะกรรมการจัดการชลประทาน (Joint Management Committee for Irrigation : JMC) หมายความว่า กลุ่มบุคคลจากหลายภาคส่วนที่มีผลเกี่ยวข้องกับการใช้หรือความต้องการและผลประโยชน์ของ เกษตรกรโดยตรง เพื่อร่วมมือกันบริหารจัดการ แบ่งปันน้าให้เกษตรกรผู้รับน้าได้ใช้น้าอย่างเป็นธรรมและเกิด ประโยชน์สูงสุด ซึ่งประกอบด้วยตัวแทนจาก 4 ส่วน คือ - องค์กรผู้ใช้น้าชลประทาน - โครงการชลประทานในพื้นที่ - องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ได้แก่ ผู้น้าชุมชน องค์การบริหารส่วนต้าบล เทศบาล องค์การบริหารส่วนจังหวัด - หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น กรมส่งเสริมการเกษตร ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ ภาคเอกชน และอื่นๆ คณะกรรมการจัดการชลประทานที่จัดตั้งขึ้นนี้ มีความมุ่งหมายให้ท้าหน้าที่การบริหารจัดการ อัน ได้แก่ ตัดสินใจ ก้ากับดูแลและสนับสนุนในการด้าเนินงานโครงการชลประทานดังนี้ 1.) การจัดสรรน้าหรือการส่งน้า อันได้แก่ การก้าหนดฤดูกาล/ปฏิทินการส่งน้า พื้นที่ส่งน้า วิธีการส่งน้าและแผนการส่งน้า รวมถึงการประชาสัมพันธ์ เป็นต้น เพื่อให้การเผยแพร่กระจายน้าตรงต่อความต้องการ ของเกษตรกรอย่างทั่วถึง เป็นธรรม และประหยัด ทั้งนี้โดยแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ - การส่งน้าในระบบชลประทานในส่วนที่กลุ่มผู้ใช้น้ารับผิดชอบ - การส่งน้าในระบบชลประทานในส่วนที่เจ้าหน้าที่ชลประทานรับผิดชอบ 2.) การบ้ารุงรักษาระบบชลประทาน อันได้แก่ ก้าหนด/ปฏิทินการบ้ารุงรักษา วิธีการ บ้ารุงรักษา และแผนการบ้ารุงรักษา รวมถึงการประชาสัมพันธ์เป็นต้น เพื่อให้มีการบ้ารุงรักษาระบบชลประทานจน สามารถใช้ประโยชน์ได้เป็นอย่างดีและยาวนาน ทั้งนี้โดยแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ - การบ้ารุงรักษาระบบชลประทานในส่วนที่กลุ่มผู้ใช้น้ารับผิดชอบ - การบ้ารุงรักษาระบบชลประทานในส่วนที่เจ้าหน้าที่ชลประทานรับผิดชอบซึ่งแบ่งย่อย ออกเป็น งานท้าเอง และงานจ้างเหมาโดยกลุ่มผู้ใช้น้า องค์การบริหารส่วนต้าบล หรือภาคเอกชน 3.) การด้าเนินกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง อันได้แก่ การส่งเสริมการผลิตเกษตร สินเชื่อเกษตร การตลาดสินค้าเกษตร และอื่นๆ เพื่อให้การใช้ประโยชน์จากน้าชลประทานมีผลตอบแทนสูงสุด ตลอดทั้งเป็นจุด ศูนย์กลางในการด้าเนินงานแบบบูรณาการร่วมระหว่างภาคเกษตรกร ภาครัฐ และภาคเอกชน
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
เผยแพร่โดย: สำนักงานชลประทานที่ 9 กรมชลประทาน
คำสำคัญ:
หมวดหมู่: อื่นๆ
หมวดหมู่ AGRIS: C การศึกษา การส่งเสริม และการเผยแพร่ (Education, extension, and advisory work)
เจ้าของลิขสิทธิ์: กรมชลประทาน
รายละเอียด: Submitted by รดา รุจณรงค์ กรมชลประทาน (rada_ru@rid.go.th) on 2018-05-01T11:21:31Z No. of bitstreams: 2 004_คู่มือ-การบริหารจัดการน้ำโดยเกษตรมีส่วนร่วม.pdf: 113533 bytes, checksum: f4b9a5f116326563def8d257ae257ee4 (MD5) license_rdf: 811 bytes, checksum: 53b05846eb6eeb1c33891ab08e36a383 (MD5)
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
คู่มือการบริหารจัดการน้ำโดยเกษตรกรมีส่วนร่วมจัดตั้งกลุ่มผู้ใช้น้ำ พร้อมจัดฝึกอบรมและให้ค้าแนะนำกลุ่มผู้ใช้น้ำ ของสำนักงานชลประทานที่ 9
สำนักงานชลประทานที่ 9 กรมชลประทาน
ไม่ระบุวันที่เผยแพร่
กรมชลประทาน
การจัดตั้งและบริหารกลุ่มผู้ใช้น้ำชลประทาน ความจำเป็นของการจัดตั้งกลุ่มผู้ใช้น้ำชลประทาน การบริหารจัดการน้ำ และการบริหารองค์กรผู้ใช้น้ำชลประทาน การบำรุงรักษาโดยกลุ่มผู้ใช้น้ำชลประทาน ก้าวสู่ความสำเร็จการบริหารจัดการชลประทาน โดยเกษตรกรมีส่วนร่วม โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษากระเสียว จังหวัดสุพรรณบุรี ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการบริหารจัดการน้ำชลประทานตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กรณีศึกษา: กลุ่มผู้ใช้น้ำชลประทาน จังหวัดสุพรรณบุรี การบริหารจัดการกลุ่มผู้ใช้น้ำเพื่อพัฒนาองค์ความรู้สู่ผลสัมฤทธิ์เชิงประจักษ์ กรณีศึกษาเขตพื้นที่ส่งน้ำและบำรุงรักษาลำปาว” กลุ่มบริหารการใช้น้ำชลประทาน การพัฒนาการบริหารจัดการน้ำอย่างเหมาะสมเพื่อปฏิรูปภาคการใช้น้ำเกษตรกรรมของประเทศไทย การบริหารจัดการน้ำชลประทานสำหรับกลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกข้าวหอมมะลิ “กรณีศึกษาพื้นที่ชลประทานทุ่งกุลาร้องไห้”
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก