สืบค้นงานวิจัย
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ซอสหอมแดง
สุกัญญา กล่อมจอหอ, จิราวรรณ อุ่นเมตตาอารี, ปทุมพร โสตถิรัตนพันธ์ - มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
ชื่อเรื่อง: การพัฒนาผลิตภัณฑ์ซอสหอมแดง
ชื่อเรื่อง (EN): Product Development of Shallot Sauce
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ: หอมแดง
บทคัดย่อ: วัตถุประสงค์ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ซอสหอมแดงเพื่อการพัฒนาสูตรซอสหอมแดง การพัฒนาผลิตภัณฑ์ซอสหอมแดงในครั้งนี้ใช้หอมแดงพันธุ์ศรีสะเกษหอมแดง ซอสหอมแดงมีเค้าโครงคุณลักษณะทางประสาทสัมผัส ดังนี้ สีน้ำตาล รสเปรี้ยว รสเปรี้ยวตกค้าง รสเค็ม กลิ่นหอมแดง สูตรที่เหมาะสมของซอสหอมแดงประกอบด้วย หอมแดง กระเทียม เกลือ น้ำตาล แป้งข้าวโพดและน้ำ ซอสหอมแดงมีค่าความสว่าง (L*) 31.58 ค่าสี a* เท่ากับ -0.36 และค่าสี b* เท่ากับ 4.04 ความชื้น ร้อยละ 68.33 เถ้า ร้อยละ 18.12 เยื่อใย ร้อยละ 18.96 มีปริมาณของแข็งที่ละลายได้หมด (Brix) เท่ากับ 36.8 (Brix) ความเป็นกรด-ด่าง (pH) เท่ากับ 4.29 และปริมาณกรดทั้งหมดเท่ากับ 1.06 จำนวนจุลินทรีย์ทั้งหมด ไม่เกิน 10,000 CFU/g ยีสต์และรา ไม่เกิน 10 CFU/g และ Escherichia cli. พบน้อยกว่า 3 ใน อาหาร 1 กรัม การยอมรับของผู้บริโภค พบว่า ผู้บริโภคให้การยอมรับในระดับปานกลางถึงชอบมาก อายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ซอสหอมแดงสามารถเก็บรักษาที่อุณหภูมิห้องได้นาน 12 สัปดาห์
บทคัดย่อ (EN): The purpose of product development of shallot sauce for development formula. This product development of shallot sauce used sesaket shallot. The sensory characteristics of shallot sauce were brown, sour, after taste, salt, shallot smell. The optimized formula composed of shallot, garlic, sugar, salt, corn flour and water. The supplementary food was color L* = 31.58, a* = -0.36, b* = 4.04, moisture content = 68.33%, ash = 18.12%, fiber = 18.96%, total soluble solid = 36.8 ?Brix, pH = 4.2, total acidity = 1.06, standard plate count was less than 10,000 CFU/g, yeast and mold was less than 10 CFU/g, Escherichia coli. less than 3. The consumer indicated that they liked the product moderately to extremely. The shelf-life of the product at room temperature was 12 weeks.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2550-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2551-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ซอสหอมแดง
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
30 กันยายน 2551
การออกแบบและพัฒนาเครื่องปลูกหอมแดง โครงการวิจัยการจำแนกพันธุ์หอมแดงและหอมแดงลูกผสม อิทธิพลของหอมแดงที่มีต่อการไหลของน้ำยางพารา ทดสอบสาธิตการใช้ผลิตภัณฑ์กรมพัฒนาที่ดินเพิ่มศักยภาพการผลิตของดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลัก(ข้าว หอมแดง และพริก) ในพื้นที่โครงการเมืองเกษตรสีเขียวจังหวัดศรีสะเกษ การใช้ปุ๋ยเคมีในการผลิตหอมแดงพื้นที่ จังหวัดเชียงราย ผลการใช้ผลิตภัณฑ์สารเร่ง พด.9 และซุปเปอร์ พด.9 เพื่อเพิ่มผลผลิตหอมแดงในสภาพดินกรดจัด การทดสอบปุ๋ยกับหอมแดงในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สภาพการผลิตหอมแดงของเกษตรกรในจังหวัดศรีสะเกษ ปีเพาะปลูก 2546/2547 การผลิตหอมแดงปลอดเชื้อไวรัสด้วยเทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ การศึกษาการใช้สารกำจัดวัชพืชในหอมแดงของเกษตรกรในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก