สืบค้นงานวิจัย
ระยะปลูกที่เหมาะสมร่วมกับการใช้ปุ๋ยหมัก, น้ำหมักชีวภาพ และปุ๋ยเคมี เพื่อเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลังพันธุ์ระยอง 5 ในกลุ่มชุดดินที่ 29 จังหวัดลำปาง
วรรธนะพงศ์ จันทร์อินทร์ - กรมพัฒนาที่ดิน
ชื่อเรื่อง: ระยะปลูกที่เหมาะสมร่วมกับการใช้ปุ๋ยหมัก, น้ำหมักชีวภาพ และปุ๋ยเคมี เพื่อเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลังพันธุ์ระยอง 5 ในกลุ่มชุดดินที่ 29 จังหวัดลำปาง
ชื่อเรื่อง (EN): The optimum space, Compost, Bio-water fermentation and Chemical fertilizer for increasing Rayong 5 Cassava yield in soil series group No. 29 , Lampang province.
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: วรรธนะพงศ์ จันทร์อินทร์
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย: กัญญาภัทร พอสม
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: การศึกษาระยะปลูกที่เหมาะสมร่วมกับการใช้ปุยหมัก, น้ำหมักชีวภาพ และปุยเคมี เพื่อเพิ่มผลผลิต มันสำปะหลังพันธุ์ระยอง ๕ ในกลุ่มชุดดินที่ ๒๙ จังหวัดลำปาง เพื่อเพื่อศึกษาระยะปลูกที่เหมาะสมของมัน สำปะหลังพันธุ์ระยอง ในกลุ่มชุดดินที่ ๒๙ และ เพื่อศึกษาวิธีการปลูกที่เหมาะสมในการลดต้นทุนการผลิต ผลการทดลองในปี ๒๕๕๔ พบว่า ระยะปลูกที่ .๘ เมตร x ..๘เมตร (Mo) สามารถให้ผลผลิตเฉลี่ยสูงถึง ๑๐,๒๗๔ กิโลกรัมต่อไร่ รองลงมาที่ระยะปลูก ๑ เมตร x เมตร (Mo) ให้ผลผลิตต่อไร่เฉลี่ยเท่ากับ ๖,๓๑๖ กิโลกรัมต่อไร่ ส่วนกรรมวิธีต่างๆ มีผลทำให้ผลผลิตต่อไร่ของน้ำหนักหัวสดมันสำปะหลังพันธุ์ระยอง ๕ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โดย กรรมวิธีที่ S๗, S๖, S๕, S๓ และ S๔ ให้ผลผลิตเฉลี่ยสูงสุดไม่ ต่างกัน คือ ๑๐,๐๓๓ กิโลกรัม, ๘,๙๑๒ กิโลกรัม , ๔,๖๙๗ กิโลกรัม, ๘,๔๒๓ กิโลกรัม และ ๘,๒๓๙ กิโลกรัมตามลำดับ รองลงมาได้แก่กรรมวิธี S๒ และ S๑ ให้ผลผลิตเฉลี่ยเท่ากับ ๖.๙๖๗ กิโลกรัม และ ๖.,๗๙๔ กิโลกรัม ตามลำดับ ผลการทดลองในปี ๒๕๕๕ พบว่า ระยะปลูกที่ .๘ เมตร x .๘เมตร (M๑) สามารถให้ผลผลิตเฉลี่ย สูงถึง ๑๑,๓๕๑ กิโลกรัมต่อไร่ รองลงมาที่ระยะปลูก ๑ เมตร x เมตร (Mo) ให้ผลผลิตต่อไร่เฉลี่ยเท่ากับ ๖.๕๕๖ กิโลกรัมต่อไร่ ส่วนกรรมวิธีต่างๆ มีผลทำให้ผลผลิตต่อไร่ของน้ำหนักหัวสดมันสำปะหลังพันธุ์ระยอง ๕ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โดย กรรมวิธีที่ S๗ และ S๕ ให้ผลผลิตเฉลี่ยสูงสุดไม่ต่างกัน คือ ๑๑,๖๒๗ กิโลกรัม และ ๑๑,๔๒๑ กิโลกรัมตามลำดับ รองลงมาได้แก่กรรมวิธี S๖ และ S๔ ให้ผลผลิตเฉลี่ย เท่ากับ ๘,๗๔๒ กิโลกรัม และ ๘,0๒๐ กิโลกรัม ตามลำดับ ผลการทดลองในปี ๒๕๕๖ พบว่า ระยะปลูกที่ ๑.๘ เมตร x 0.๘ เมตร (M๑) สามารถให้ผลผลิตเฉลี่ย สูงถึง ๑๐,๘๔๔ กิโลกรัมต่อไร่ รองลงมาที่ระยะปลูก ๑ เมตร x เมตร (M-) ให้ผลผลิตต่อไร่เฉลี่ยเท่ากับ ๖.๔๒๑ กิโลกรัมต่อไร่ ส่วนกรรมวิธีต่างๆ มีผลทำให้ผลผลิตต่อไร่ของน้ำหนักหัวสดมันสำปะหลังพันธุ์ระยอง ๕ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โดย กรรมวิธีที่ S๗, S๕, S๓ และ S๖ ให้ผลผลิตเฉลี่ยสูงสุดไม่ต่างกัน คือ ๑๐,๘๗๔ กิโลกรัม, ๙,๓๙๙ กิโลกรัม,๘,๘๗๐ กิโลกรัม และ ๘,๘๒๗ กิโลกรัมตามลำดับ รองลงมาได้แก่ กรรมวิธี S๔ และ S๒ ให้ผลผลิตเฉลี่ยเท่กับ ๘,๑๓๘ กิโลกรัม และ ๗,๔๕- กิโลกรัม ตามลำดับ การศึกษาอิทธิพลร่วมระหว่าง Main plot (ระยะปลูก) กับ Sub plot (กรรมวิธีต่างๆ) ในแต่ละตำรับ ตั้งแต่ปี ๒๕๕๔ - ๒๕๕๖ พบว่ามีผลผลิตต่อไร่เฉลี่ยไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2553-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2556-09-30
เผยแพร่โดย: กรมพัฒนาที่ดิน
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ระยะปลูกที่เหมาะสมร่วมกับการใช้ปุ๋ยหมัก, น้ำหมักชีวภาพ และปุ๋ยเคมี เพื่อเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลังพันธุ์ระยอง 5 ในกลุ่มชุดดินที่ 29 จังหวัดลำปาง
กรมพัฒนาที่ดิน
30 กันยายน 2556
อาหารจากมันสำปะหลัง ผลของชนิดน้ำหมักชีวภาพที่มีต่อผลผลิต และคุณภาพของชา ในกลุ่มชุดดินที่ 29 ผลการใช้ปุ๋ยพืชสดและน้ำหมักชีวภาพที่มีผลต่อการปลูกมันสำปะหลังในกลุ่มชุดดินจักราช การใช้ปุ๋ยชีวภาพ (พด.12) ร่วมกับปุ๋ยเคมีเพื่อเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลัง การจัดการดินเพื่อเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลัง ความคิดเห็นของเกษตรกรในจังหวัดอำนาจเจริญ ที่มีต่อมันสำปะหลังพันธุ์ระยอง 5 การจัดการเพิ่มมวลชีวภาพพืชปุ๋ยสด (ปอเทือง) ด้วยจุลินทรีย์สำหรับพืชปรับปรุงดิน พด.11 ร่วมกับปุ๋ยเคมีเพื่อเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลังพันธุ์ระยอง 5 ในกลุ่มชุดดินที่ 35 (จังหวัดกำแพงเพชร) ผลของอัตราปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงที่เหมาะสมร่วมกับปุ๋ยเคมี เพื่อเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลัง ในกลุ่มชุดดิน 35 การใช้พืชตระกูลถั่วในระบบการปลูกพืชเพื่อเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลังที่ปลูกบนดินลูกรัง ศึกษาอัตราการให้น้ำสำหรับมันสำปะหลังที่ปลูกปลายฤดูฝน
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก