สืบค้นงานวิจัย
ประสิทธิภาพของสบู่ดำ (Jatropha curcas) ในการควบคุมไส้เดือนฝอยรากปม (Meloidogyne spp.) ที่เข้าทำลายพริกในแปลงปลูกตามธรรมชาติ
บัญชา ชิณศรี - มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ชื่อเรื่อง: ประสิทธิภาพของสบู่ดำ (Jatropha curcas) ในการควบคุมไส้เดือนฝอยรากปม (Meloidogyne spp.) ที่เข้าทำลายพริกในแปลงปลูกตามธรรมชาติ
ชื่อเรื่อง (EN): Efficacy of Jatropha curcas in Controlling Root-knot Nematodes(Meloidogyne incognita) Infecting Chilli in Natural Fields
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: บัญชา ชิณศรี
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: การศึกษาดาเนินการในสภาพแปลงปลูกพริกของเกษตรกรตามธรรมชาติจานวน 2 แปลง ในเขตอาเภอม่วงสามสิบ จ.อุบลราชธานี โดยการวิจัยเริ่มดาเนินการตัง้แต่เดือนตุลาคม 2558 ถึงเดือนกุมภาพันธ์2560 ทัง้นีวั้ตถุประสงค์หลักของการทาวิจัยคือ เพื่อศึกษาและยืนยันผลของสบดู่ า (Jatropha curcas) ในการลดการระบาดและการทาความเสียหายให้กับพริกโดยไส้เดือนฝอยรากปม (Meloidogyne spp.) ในสภาพการปลูกตามธรรมชาติได้จริง การทดลองดาเนินการในสภาพแปลงที่มีการระบาดของไส้เดือนฝอยรากปมตามธรรมชาติ (naturally nematode-infested field) โดยแบ่งกรรมวิธีออกเป็น 5 กรรมวิธี (treatment) คือ (1) ไม่ใช้สบดู่ า, (2) สบดู่ าพันธ์ุที่อัตรา 100 กรัม/นา้ 1 ลิตร, (3) สบดู่ าพันธ์ุที่อัตรา 200 กรัม/นา้ 1 ลิตร, (4) สบดู่ าพันธ์ุที่อัตรา 300 กรัม/นา้ 1 ลิตร, และ(5) สบดู่ าพันธ์ุที่อัตรา 400 กรัม/นา้ 1 ลิตร จานวนซา้ของการทดลองเท่ากับ 6 ซา้ และดาเนินการในลักษณะเดียวกันจานวน 2 แปลงทดลองที่ห่างกันในระยะทางประมาณ 20กิโลเมตร การใส่สบู่ดาลงในแปลง ดาเนินการในลักษณะการราด (soil drench) ด้วยสารแขวนลอย(suspension) ของผงบดเมล็ดสบดู่ า (seed powder) และนา้ ในอัตราปริมาณสารแขวนลอย 5 ลิตรต่อแปลงขนาด 1x1 ตารางเมตร (ดาเนินการราดสารแขวนลอยเมล็ดสบดู่ า 3 ครัง้คือ ครัง้ที่ 1 เมื่อย้ายกล้าลงปลูก ครัง้ที่ 2 หลังจากย้ายกล้าลงปลูกแล้ว 1 เดือน และ ครัง้ที่ 3 หลังจากย้ายกล้าลงปลูกแล้ว 2 เดือน) ผลการทดลองชีใ้ห้เห็นว่า ผลผลิต ของพริกสายพันธ์ุหัวเรือเพิ่มขึน้ (P<0.05) ในแปลงที่มีการใช้สารแขวนลอยเมล็ดสบดู่ าในทุกอัตรา โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่อัตรา 400 กรัมต่อนา้ 1 ลิตร มีผลผลิตที่สูงขึน้ มากกว่า 73 เปอร์เซ็นต์ เมื่อเปรียบเทียบกับการไม่ใช้สบดู่ า ในทัง้สองพืน้ ที่การทดลอง นอกจากนีเ้มื่อทาการเปรียบเทียบจานวนตัวอ่อนระยะที่สอง (second-stage juveniles) ของไส้เดือนฝอยรากปมที่อยู่ในดิน ดัชนีการเกิดปมของไส้เดือนฝอย(root gall index) และจานวนไข่ของไส้เดือนฝอยที่สร้างต่อราก 1 กรัมของทัง้สองแปลง พบว่า มีค่าลดลง (P <0.05) ในแปลงทีมีการใช้สบดู่ าโดยเฉลี่ยเท่ากับ 87, 82, และ 97 เปอร์เซ็นต์ ตามลาดับ ดังนัน้ จึงสามารถสรุปได้ว่า สารสกัดจากเมล็ดสบู่ดา (water suspension) สามารถลดความเสียหายและการระบาดของไส้เดือนฝอยรากปมที่เข้าทาลายพริกพันธ์ุหัวเรือที่ปลูกในสภาพตามธรรมชาติได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2557
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2558
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ประสิทธิภาพของสบู่ดำ (Jatropha curcas) ในการควบคุมไส้เดือนฝอยรากปม (Meloidogyne spp.) ที่เข้าทำลายพริกในแปลงปลูกตามธรรมชาติ
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
2558
การประเมินประสิทธิภาพเชื้อราในดินต่อการควบคุมไส้เดือนฝอยรากปม Meloidogyne incognita สาเหตุโรครากปมพริกในแปลงปลูกพืชขนาดเล็ก การใช้ประโยชน์จากแอคติโนมัยซีทสายพันธุ์ Streptomyces sp. KPS-E004 และ Streptomyces sp. KPS-F003 เป็นเชื้อปลูกร่วมเพื่อควบคุมการระบาดของไส้เดือนฝอยรากปมและผลในการส่งเสริมการเจริญของพริก การค้นหาไส้เดือนฝอยตัวห้ำเพื่อใช้ในการควบคุมไส้เดือนฝอยรากปม การป้องกันกำจัดไส้เดือนฝอยรากปม meloidogyne incognita (Kofoid & White) Chitwood ศัตรูพริกโดยวิธีปลูกพืชหมุนเวียน การคัดเลือกเชื้อราปฏิปักษ์ควบคุมไส้เดือนฝอยรากปมของพืชผักบางชนิด การจัดการระบบแปลงปลูกพริกและการใช้ปุ๋ยผสมผสานเพื่อการปลูกพริก การทดสอบความทนเค็มของสบู่ดำในสภาพแปลง ประสิทธิภาพไส้เดือนฝอยศัตรูแมลงในการป้องกันกำจัดแมลงหวี่ขาวในพริก การคัดเลือกแบคทีเรียปฏิปักษ์ Bacillus spp. ที่มีศักยภาพควบคุมเชื้อรา Colletotrichum spp. สาเหตุโรคแอนแทรคโนสของพริก การค้นหาและโคลนยีนในการควบคุมขนาดของผลในสบู่ดำ

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก