สืบค้นงานวิจัย
ความหลากหลายของภูมิปัญญาท้องถิ่น : การใช้จุลินทรีย์และผลิตภัณฑ์ของจุลินทรีย์ในการผลิตข้าว ระยะที่ 2
ฉวีวรรณ บุญเรือง - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ
ชื่อเรื่อง: ความหลากหลายของภูมิปัญญาท้องถิ่น : การใช้จุลินทรีย์และผลิตภัณฑ์ของจุลินทรีย์ในการผลิตข้าว ระยะที่ 2
ชื่อเรื่อง (EN): Local Wisdom Diversity: Application of Microorganism and Its Products in Rice Production : Phase 2
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: ฉวีวรรณ บุญเรือง
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: การใช้ปัจจัยการผลิตที่ไม่เหมาะสมในการผลิตข้าว ส่งผลให้ต้นทุนการผลิตสูงและยังมี ผลกระทบต่อผู้ ผู้บริโภคและสภาพแวตล้อม การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็นแนวทางหนึ่งในการแก้ไข ปัญหา ดังนั้นการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อทดสอบการใช้จุสินทรีย์และผลิตภัณฑ์จุสินทรีย์เพื่อลด ต้นทุนการในการผลิตข้าว มีคุณภาพปลอดภัยต่อผู้บริโภคและสิ่งแวดล้อมงานวิจัยนี้แบ่งเป็น 4 การ ทดลองย่อย ตังนี้ การทดลองที่ 1 ผลของการใช้เชื้อจุลินทรีย์ตามภูมิปัญญาท้องถิ่นในการควบคุมโรคและ แมลงศัตรูข้าวหอมมะสิธรรมศาสตร์ในกระถาง วางแผนการทตลองแบบสุ่มในบล็อกสมบรูณ์ (Randomized Complete Block Design RCBD) ประกอบต้วย 7 สิ่งทตลอง 5 ซ้ำ สิ่งทตลอง ประกอบด้วย 1.ไม่ควบคุมโรคและแมลง(contro!) 2.เชื้อรไตรโคเตอร์มาชนิตฉีดพ่น 3.เชื้อราบิวเวอเรีย BCC 48145 บนข้าวสาร 4.เชื้อราไตรโตเตอร์มาชนิตฉีตพ่น+เชื้อราบิวเวอเรีย BCC 48145 บนข้าวสาร 5.เชื้อราบิวเวอเรียผสมเชื้อราเมตาไรเซียมชนิตผงแห้ง 6.น้ำหมักสมุนไพร สูตรนาคูและ 7.เชื้อรา ไตรโคเดอร์มา ไอโชเลตบางปะอิน 3 พบว่ การควบคุมโรคข้าวตัวยการณีดพ่นด้วยเชื้อราไตรโคเตอร์มา และการควบคุมแมลงศัตรูข้าวด้วยเชื้อราบิวเวอเรีย BCC 48145 ที่เลี้ยงบนข้าวสารทำให้เปอร์เซ็นต์ เมล็ดต่างน้อยกว่าไม่ควบคุมโรคและแมลง(control) โดยการควบคุมโรคด้วยเชื้อราไตรโคเตอร์มาชนิต ฉีดพ่น และการฉีตพ่นน้ำหมักสมุนไพรสูตรนาดู มีเปอร์เซ็นต์เมล็ตตีสูงที่สุด เท่ากับ 95.31 และ 88.43 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ การทดลองที่ 2 ผลของการใช้จุสินทรีย์ตามภูมิปัญญาท้องถิ่นและการใช้ปุ๋ยเคมีต่อโรคเมล็ด ต่งของข้าวปทุมธานี 1 ในแปลงนา วางแผนการทตลองแบบสุ่มในบล็อกสมบรูณ์ (Randomized Complete Block Design : RCBD) ประกอบต้วย 4 สิ่งทตลอง 4 ซ้ำประกอบต้วยสิ่งทตลองตังนี้ 1.แช่เมล็ดตัวยเชื้อจุสินทรีย์ที่แยกจากดินแปลงนา + ปุ้ยสูตร 30-0-0 อัตรา 17 กิโลกรัม/ไร่ และปุยสูตร 15-15-15 อัตรา 7 กิโลกรัม/ไร่ 2.แช่เมล็ตตัวยเชื้อไตรโคเตอร์มาชนิด 3. ฉีดพ่นน้ำหมักสมุนไพรสูตร นาคู+ปุยสูตร 30-0-0 อัตรา 12 กิโลกรัม/ไร่ และปุยสูตร 15-15-15อัตรา 7 กิโลกรัม/ไร่ 4.ฉีดพ่นเคมี+ ปุยสูตร 30-0-0 อัตรา 8 กิโลกรัม/ไร่ และปุยสูตร 15-15-15อัตรา 7 กิโลกรัม/ไร่ พบว่าการใช้ เชื้อจุสินทรีย์ที่แยกจากตินแปลงนามีประสิทธิภาพในการควบคุมโรคเมล็ตด่งของข้าวปทุมธานี 1เทียบเท่ากับการใช้สารเคมี และแช่เมล็ดต้วยเชื้อที่แยกจากดินแปลงนา + ปุ๋ยสูตร 30-0-0 อัตรา 17 กิโลกรัม/ร่ และปุยสูตร 15-15-15 อัตรา 7 กิโลกรัม/ไร่ มีเปอร์เซ็นต์โรคเมล็ดต่างน้อยกว่าการฉีต พ่นด้วยสารเคมี เท่ากับ 2.37 และ 2.75 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ การทดลองที่ 3 ผลของเชื้อจุลินทรีย์และการจัดการปุ้ยต่อเชื้อที่ติดมากับเมล็ดและการให้ผล ผลิตของข้าวปทุมธานี 1 วางแผนการทดลองแบบ 4 x 4 factorial in Randomized Complete Block Design จำนวน 4 ซ้ำ ประกอบด้วยปัจจัย Aการจัดการปุ๋ย 4 แบบ คือA 1 ใส่ปุ๋ยเคมีตามค่า วิเคราะห์ดินA 2 ใส่ปุ๋ยอินทรีย์ตามค่าวิเคราะห์ดิน A 3 ใส่ปุ๋ยอินทรีย์+ปุ้ยเคมีอัตรา 1:1 และ A 4 ใส่ปุยอินทรีย์ +ปุยเคมีอัตรา 1:2 ปัจจัย B ชนิดจุลินทรีย์ส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืชที่ใช้แช่เมล็ด 4 ชนิด คือ B1 เชื้อราTrichoderma + azotobacter + azospirillเmอัตรา 1:1:1 B2 เชื้อรา Trichoderma ชนิดเม็ด B3 เชื้อราย่อยสลายเซลลูโลส(B+ PH2) + ปุ๋ยน้ำหมักความเข้มข้น 50 ppm และ 84 แช่น้ำเปล่า (Non-inoculation)พบว่การใส่ปุ๋ยอินทรีย์ร่วมกับปุ๊ยเคมีอัตรา 1:2 และการใส่ ปุยเคมีตามคำวิเคราะห์ดิน ช่วยให้มีจำนวนต้นต่อกอ และน้ำหนักแห้งต่อกอ ดีที่สุดแต่ผลผลิตไม่ แตกต่างกันทางสถิติ ในขณะที่การแช่เมล็ดด้วยเชื้อผสมของ Trichoderma : azotobacter : azospirillum ส่งเสริมการเจริญเติบโตด้านความสูงส่วนคุณภาพผลผลิต พบว่ทุกสิ่งทดลองทำให้ คุณภาพผลผลิตและปริมาณเชื้อที่ติดมากับเมล็ดไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ และเชื้อราที่พบติดมา กับเมล็ดข้าว ได้แก่ Curvularia ssp., Fusarium ssp, Aspergillus flavus และ Aspergillus niger ส่วนการสะสมธาตุอาหารในพืชพบว่าการใช้ปุ๋ยเคมี และการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ตามค่าวิเคราะห์ดิน ช่วยให้มีการสะสมธาตุอาหารในพืชมากที่สุด ในขณะที่การแช่เมล็ดด้วยเชื้อผสมของ Tichoderma : azotobacter : azospirillum, การแช่มล็ดด้วยเชื้อราไตรโคเดอร์มา และแช่เมล็ดด้วยเชื้อราย่อยสลาย เซลลูโลส + ปุ๋ยน้ำหมักความเข้มขัน 50 Pm ส่งเสริมให้มีการสะสมธาตุอาหารในพืชสูงกว่าการไมใส่เชื้อ การทตลองที่ 4 การทดสอบความสามารถของเชื้อราที่มีความสามารถในการสร้างเอนไซม์ เซลลูเลสต่อผลผลิตข้าวปทุมธานี1ในกระถางวางแผนการทดลองแบบ 3 3 factorial in randomized complete block design จำนวน 4 ซ้ำ ประกอบด้วยปัจจัยที่ศึกษา ดังนี้ปัจจัย A คือ ระยะเวลาในการใส่หมักฟางข้าว 3 ระยะคือ 7, 14 และ 21 วันก่อนการปลูกข้าวปัจจัย B คือ ชนิด ของเชื้อรา 3 ไอโซเลตได้แก่ บางปะอิน 1 วังน้อย 3 และผักไห่ 2 พบว่า การหมักฟางเป็นเวลา 7, 14 และ21วัน ทุกลักษณะที่ศึกษาไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ ยกเว้นน้ำหนักเมล็ดต่อกระถาง การหมัก ฟางด้วยเชื้อราไอโซเลตบางปะอิน1 มีน้ำหนักเมล็ดมากกว่าไอโซเลตวังน้อย 3 และผักไห่ 2 เท่ากับ 62.71 55.25 และ 51.60 กรัม/กระถาง ตามลำดับ
บทคัดย่อ (EN): Application of improper production factors resulted in high production costs and also affected consumers and environment. Local wisdom is one alternate way to solve this problem. Therefore, this study was aimed to study on application of microorganism and its product for reducing production costs in rice production with high quality and safety for consumer and environment. This project was divided into 4 experiments as follows: Experiment 1 Effects of microorganism application according to local wisdom for controlling disease and insect of rice cv. Thamasart Jasmine rice growing in pots.The experimental design was Randomized Complete Block Design ; RCBD with 7 treatments and 5 replications. Treatments were as follows: trt1.control (no disease and insect control), trt2trichoderma, trt3 beauveriaBCC 48145 , trt4 trichoderma+ beauveria BCC 48145 , trt5 metarhizium and beauveria powder, trt6 herb extract formula Na Khu and trt7 trichodermaBang Pa Inisolate. The result was found that dirty panicle disease percentage sprayed with trichoderma and beauveriaBCC 48145 was less than the control. Controlling rice disease by spraying trichoderma and herb extract formula Na Khu showed high filled grain of 95.31 and 88.43 % respectively. Experiment 2 Effects of microorganism application according to local wisdom in combination with chemical fertilizer for controlling dirty panicle disease of rice cv PathumThani 1 in paddy field.The experimental design was Randomized Complete Block Design ; RCBDwith 4 treatments and 4 replications. Treatments were as follows: trt1 rice seeds soaked withmicroorganism isolated from paddy field+ chemical fertilizer (30-0-0) at the rate of 17 kg/rai+chemical fertilizer (15-15-15) at the rate of 7 kg/rai,trt2 rice seeds soaked with Trichoderma powder, trt3 foliar spray of herb extract formula Na Khu + chemical fertilizer (30-0-0) at the rate of 12 kg/rai+ chemical fertilizer (15-15-15) at the rate of 7 kg/rai, trt4 foliar spray of chemical substance +chemical fertilizer (30-0-0) at the rate of 8 kg/rai+ chemical fertilizer (15-15-15) at the rate of 7 kg/rai. The result was indicated that application of both microorganism isolated from paddy field and chemical substance had the same potential for controlling dirty panicle disease. Rice seeds soaked withmicroorganism isolated from paddy field+ chemical fertilizer (30-0-0) at the rate of 17 kg/rai+chemical fertilizer (15-15-15) at the rate of 7 kg/rai obtained the lowest dirty panicle disease grain of 2.73 % when compared to the chemical substance treatment which showed 2.75 % respectively. Experiment 3 Effect of microorganism and fertilizer management on seed born fungi and Pathum Thani 1 rice yield potential. The experimental design was 4x4 factorial in Randomized Complete Block Design ; RCBDwith 4 replications. Factor A was 4 types of fertilizer application (1. Chemical fertilizer application according to soil analysis, 2.organic fertilizer application according to soil analysis, 3 chemical fertilizer+ organic fertilizer at the ratio of 1:1 and 4. chemical fertilizer+ organic fertilizer at the ratio of 1:2) and factor B was 4 types of microorganism (1.Trichoderma+azotobacter + azospirillumat the ratio1:1:1, 2.granule formula ofTrichoderma, 3. cellulose degradation fungi+ bio extract 50 ppm, 4. Non-inoculation (control) . The results were found that application of organic fertilizer +chemical fertilizer (ratio1:2) and application of chemical fertilizer according to soil analysis gave high tiller numbers/plant and dry weight but grain yield was not significantly different. Whereas soaking rice seeds with Trichoderma + azotobacter + azospirillumat the ratio 1:1:1 promoted plant height. For the yield quality, all treatments did not show any significant difference on yield quality and seed born fungi. Seed born fungi, namely Curvulariassp., Fusarium ssp., Aspergillus flavus andAspergillus niger were found. In regard to nutrient accumulation in plant, application of chemical fertilizer and organic fertilizer application according to soil analysis showed the highest nutrient accumulation in plants. Soaking the seeds with Trichoderma+ azotobacter+ azospirillum, trichoderma and cellulose degradation fungi+ bio extract 50 ppm tended to accumulate nutrient in plant higher than the control. Experiment 4 Degradation ability testing of cellulase enzyme synthesis fungi on Pathum Thani 1 rice yield in pot.The experimental design was 3x3 factorial in Randomized Complete Block Design ; RCBDwith 4 replications. Factor A was 3 timing periods ( 7, 14 and 21 days before planting ) and factor B was 3 fungi isolates ( Bang Pa In1, Wang Noi3 and Puk Hai 2). The result was shown that all timing periods of rice straw fermentation were not significantly different on all studied traits, excepting grain weight per pot. Rice straw fermented with Bang Pa In1 isolate gave grain weight over than did with Wang Noi3 and Phuk Hai 2. They were62.71 , 55.25 and51.60g/pot respectively.
วิธีการจ้างทำงานวิจัย: ได้รับทุนวิจัย
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2558-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2560-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ความหลากหลายของภูมิปัญญาท้องถิ่น : การใช้จุลินทรีย์และผลิตภัณฑ์ของจุลินทรีย์ในการผลิตข้าว ระยะที่ 2
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ
30 กันยายน 2560
ความหลากหลายของภูมิปัญญาท้องถิ่น : การใช้จุลินทรีย์และผลิตภัณฑ์ของจุลินทรีย์ในการผลิตข้าว ข้าวให้พลังงานผสานคุณค่าอาหาร โครงการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ต่อยอดจากภูมิปัญญาท้องถิ่นและความหลากหลายทางชีวภาพบนพื้นที่สูงเพื่อนำไปสู่การใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ การพัฒนาเครือข่ายวิชาการและเผยแพร่ความรู้ด้านความหลากหลายทางชีวภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่น การศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่นในแขวงจำปาสัก สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว การสร้างรูปแบบการจัดการสิ่งแวดล้อม และการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืนบนฐานเศรษฐกิจพอเพียงและภูมิปัญญาท้องถิ่นในพื้นที่ต้นน้ำแม่แจ่ม อำเภอกัลยาณิวัฒนา จังหวัดเชียงใหม่ บูรณาการการผลิตข้าวเพื่อเพิ่มผลผลิตและลดต้นทุนการผลิตโดยใช้จุลินทรีย์และสารสกัดจากพืชในพื้นที่ภาคเหนือตอนล่าง สร้างและทดสอบ เครื่องผลิตไบโอดีเซลแบบใช้จุลินทรีย์ การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตข้าวโดยใช้องค์ความรู้ใหม่ในการจัดการศัตรูข้าวเพื่อลดต้นทุนและเพิ่มผลผลิตข้าวในนาชลประทาน การผลิต Inulin และ Oligofructose จากกล้วยเพื่อใช้เป็นสารเสริมอาหาร

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก