สืบค้นงานวิจัย
การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมของไก่พื้นเมืองในพื้นที่ภาคเหนือ
บัญชา พงศ์พิศาลธรรม - มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ชื่อเรื่อง: การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมของไก่พื้นเมืองในพื้นที่ภาคเหนือ
ชื่อเรื่อง (EN): A Study on Native Chicken Genetic Diversities in Northern Thailand
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: บัญชา พงศ์พิศาลธรรม
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Buncha Pongpisantoom
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย (EN):
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: ในการตรวจสอบลายพิมพ์ดีเอ็นเอของไก่พื้นเมืองจากภาคเหนือของไทยศึกษาตัวอย่าง ทั้งหมด 59 ตัวอย่าง โดยสุ่มจาก 8 จังหวัดทางภาคเหนือของประเทศไทย คือจังหวัดลำพูน 9 ตัวอย่าง จังหวัดลำปาง 7 ตัวอย่าง จังหวัดเชียงราย 5 ตัวอย่าง จังหวัดพะเยา 16 ตัวอย่าง จังหวัดแพร่ 1 ตัวอย่าง จังหวัดน่าน 8 ตัวอย่างจังหวัดแม่ฮ่องสอน 7 ตัวอย่าง และจังหวัด เชียงใหม่ 6 ตัวอย่าง เมื่อนำดีเอ็นเอมาเพิ่มปริมาณในปฎิกิริยา PCR มี ไพรเมอร์ 17 หมายเลข ที่สามารถสังเคราะห์ให้แถบดีเอ็นเอสายใหม่ จากตัวอย่างดีเอ็นเอไก่พื้นเมืองได้เกือบทุกตัวอย่าง ลายพิมพ์ดีเอ็นเอประมวลได้จากลักษณะของการปรากฎและไม่ปรากฎของแถบดีเอ็นเอ จำนวน 5,251 ตำแหน่ง รูปแบบของลายพิมพ์ดีเอ็นเอ สามารถใช้จำแนกความแตกต่างของไก่ พื้นเมืองไทยได้ เมื่อนำลายพิมพ์ดีเอ็นเอมาจัดกลุ่มด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป SARS ด้วย cluster analysis โดยใช้ ward's minimum variance method พบว่าตัวอย่างดีเย็นเอไก่พื้นเมืองที่นำมาวิเคราะห์มี ระดับความแตกต่างกันทางพันธุกรรมต่ำ โดยคำความหลากหลายทางพันธุกุรรม อยู่ระหว่าง 0.01. รึ่งสามารถแบ่งาลุ่มย่อยไก่พื้นเมืองได้จำนวน 2.6 กลุ่ม ขึ้นอยู่กับระดับที่แตกต่างกันทางพันธุกรรม
บทคัดย่อ (EN): Ninety-two RAPD loci were analysed in 59 chicken lines derived from 8 Northern Thailand provinces,ie. 9 samples from Lampoon, 7 from Lampang, 5 from Chiangrai, 16 from Payao, 1 from Prae, 8 from Nan, 7 from Maehongsorn, and 6 from Chiangmai. Line- spec fic alleles among breeds and lines were detected. The genetic dissimilarity values were calculated and the proportion of shared alleles distances were estimated. ephylogenetic consensus tree (dendrogram) that was constructed group these 59 chicken lines into 2 up to six different clusters. These resuits are in accordance he orgin and location of these chickens, which indicates that the use of f the s udy of genetic biodiversity is accurate and reliable
แผนยุทธศาสตร์งานวิจัย – ระดับกระทรวง: คณะผลิตกรรมการเกษตร
เลขทะเบียนวิจัยกรม: มจ.1-43-035
ชื่อแหล่งทุน: งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
จำนวนเงินตามสัญญารับงานวิจัย: 348,500
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2543
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2545
เอกสารแนบ: http://webpac.library.mju.ac.th:8080/mm/fulltext/research/2549/Buncha_Pongpisantoom_2545/fulltext.pdf
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
ปีที่ได้รับงบประมาณ (ระบุได้มากกว่า 1 ปี): 2543
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยแม่โจ้
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมของไก่พื้นเมืองในพื้นที่ภาคเหนือ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
2545
เอกสารแนบ 1
เอกสารแนบ 2
ความหลากหลายของไก่พื้นเมืองในพื้นที่ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย ความหลากหลายของยีน STAT5B ของประชากรไก่พื้นเมืองท้องถิ่นในเขตภาคเหนือตอนล่าง ความหลากหลายทางพันธุกรรมและจำแนกกลุ่มพันธุกรรมไก่พื้นเมืองในจังหวัดน่านด้วยไมโครแซทเทิลไลท์ สภาพการเลี้ยงไก่พื้นเมืองและความพึงพอใจต่อการเลี้ยงไก่พื้นเมืองของเกษตรกรผู้ประสบอุทกภัยที่ได้รับการแจกไก่พื้นเมืองในเขตพื้นที่จังหวัดขอนแก่น ความหลากหลายทางพันธุกรรมของยีน MC1R ในไก่พื้นเมือง ไก่กระดูกดำ ไก่เล็กฮอร์นขาว และไก่โรดไอร์แลนด์แดง ไก่พื้นเมืองไทย: อดีต ปัจจุบัน และอนาคต ความหลากหลายของพืชวงศ์ขิงในพื้นที่อำเภอปทุมรัตต์ จังหวัดร้อยเอ็ด ผลของระบบการเลี้ยงและพื้นที่การเลี้ยงไก่พื้นเมืองต่อสมรรถนะการสืบพันธุ์ในสภาพชุมชนชนบท ความหลากหลายทางพันธุกรรมของแมลงวันผลไม้ Bactrocera latifrons ในภาคกลางของประเทศไทย ความหลากหลายทางพันธุกรรมของยีน Vasoactive Intestinal Peptide Receptor-1 (VIPR-1 ) ในไก่ชี ไก่ประดู่ และไก่เล็กฮอร์น

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก