สืบค้นงานวิจัย
ผลของวิธีการเตรียมวัตถุดิบและการเปรียบเทียบกิจกรรมของเซลลูเลสและรา Trichoderma reesei ที่มีต่อการผลิตเอทานอลจากเปลือกผลไม้รวม
วัฒนา วิริวุฒิกร - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
ชื่อเรื่อง: ผลของวิธีการเตรียมวัตถุดิบและการเปรียบเทียบกิจกรรมของเซลลูเลสและรา Trichoderma reesei ที่มีต่อการผลิตเอทานอลจากเปลือกผลไม้รวม
ชื่อเรื่อง (EN): Effect of raw material preparation and cellulase and Trichoderma reesei activity comparison on ethanol production from mixed fruits debris.
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: วัฒนา วิริวุฒิกร
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาเบื้องต้นการผลิตเอทานอลจากวัสดุเหลือทึ้งทางการเกษตร เช่น เปลือก สับปะรคหรือเปลือกผลไม้อื่น ๆ ที่เหลือทึ้งทางการเกษตรเพื่อเพิ่มมูลคำให้กับผลิตภัณฑ์มากขึ้น ขั้นแรก ศึกษาการวิเคราะห์ค่าความชื้น เปอร์เซ็นต์เส้นใยหยาบ เปอร์เซ็นต์ ADF เปอร์เซ็นต์ ADL เปอร์เซ็นต์ NDF เปอร์เซ็นต์ cellulose และเปอร์เซ็นต์ hemicelluloses Wบว่าส่วนเปลือกมีค่าเปอร์เซ็นต์ความชื้น เปอร์เซ็นต์ เส้นใยหยาบ เปอร์เซ็นต์ ADF เปอร์เซ็นต์ NDF เปอร์เซ็นต์ cellulose และเปอร์เซ็นต์ hemicelluloses สูงที่สุด ส่วนแกนมีค่าเปอร์เซ็นต์ความชื้น เปอร์เซ็นด์ h celluloses รองลงมา และส่วนจุกมีค่าเปอร์เซ็นต์ความชื้น ต่ำสุด แต่มิค่าเปอร์เซ็นต์เยื่อใยหยาบ เปอร์เซ็นต์ ADF เปอร์เซ็นด์ NDF เปอร์เซ็นต์ cellulose รองลงมา โดย ที่ทั้งสามส่วนของสับปะรดไม่พบค่าเปอร์เซ็นต์ ADL เบื้องต้นศึกษาความเปีนไปได้ในการนำทุกส่วนของ สับปะรดมาหมักโดยใช้เชื้อร พบว่ามีความเป็นไป ได้เชื้อราสามารถย่อยเซลลูโลสเป็นน้ำตาลได้
วิธีการจ้างทำงานวิจัย: ได้รับทุนวิจัย
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2552-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2553-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ผลของวิธีการเตรียมวัตถุดิบและการเปรียบเทียบกิจกรรมของเซลลูเลสและรา Trichoderma reesei ที่มีต่อการผลิตเอทานอลจากเปลือกผลไม้รวม
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
30 กันยายน 2553
การปรับปรุงสภาวะที่เหมาะสมต่อการผลิตเอทานอล การผลิตเอนไซม์เซลลูเลสและไซลาเนสโดยแบคทีเรียที่คัดแยกได้จากของเสียจากชุมชน และการแปรรูปผลไม้ การผลิตน้ำเชื่อมจากข้าวเหนียวด้วยรา ศักยภาพการผลิตปลากัดไทยของจังหวัดฉะเชิงเทราเพื่อเป็นสินค้า OTOP และการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตปลากัดไทย การพัฒนาการผลิตวัตถุดิบและการแปรรูปผลิตภัณฑ์เฉาก๊วยผงสาเร็จรูป การผลิตเอทานอลจากกากเหลือทิ้งกระบวนการแปรรูปหัวหอมแขก ศักยภาพของน้ำคั้นแก่นตะวันเพื่อการผลิตเอทานอลที่อุณหภูมิสูงโดยใช้เชื้อยีสต์ทนร้อน การวิจัยการผลิตไพลแบบบูรณาการ ศึกษาการใช้กระป๋องพลาสติกบรรจุผลไม้ ผลไม้ไร้เมล็ด เปี่ยมด้วยคุณค่า

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก