สืบค้นงานวิจัย
ชนิดอาหารที่เหมาะสมในการอนุบาลลูกปลาดุกด้าน
ชญาภา จันทร์ศรี - กรมประมง
ชื่อเรื่อง: ชนิดอาหารที่เหมาะสมในการอนุบาลลูกปลาดุกด้าน
ชื่อเรื่อง (EN): Suitable Feed for Nursing of Walking Catfish ( Clarias batrachus Linneaus, 1758)
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: ชญาภา จันทร์ศรี
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): chayapa chansri
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย (EN): somporn kosol
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: การศึกษาชนิดอาหารและรูปแบบการให้ต่างกัน ที่เหมาะสมในการอนุบาลลูกปลาดุกด้านวัยอ่อนอายุ3 วัน โดยแบ่งการทดลองเป็น 2 ช่วง คือ ช่วงที่ 1 ระหว่างวันที่ 2 – 11 กันยายน เป็นเวลา 10 วัน และช่วงที่2 ระหว่างวันที่ 22 ตุลาคม – 9 พฤศจิกายน 2555 เป็นเวลา 24 วัน ดําเนินการทดลอง ณ ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงน้ําจืดศรีสะเกษ มีผลการศึกษา ดังนี้การทดลองที่ 1 อนุบาลลูกปลาดุกด้านวัยอ่อนอายุ 3 วัน เป็นเวลา 10 วัน ด้วยอาหาร 5 ชุดการทดลอง คือ ชุดการทดลองที่ 1 ให้ลูกปลากินไรแดงไม่กรอง (ชุดควบคุม) ชุดการทดลองที่ 2 ให้ลูกปลากินไข่ขาวต้มกึ่งสุกกึ่งดิบ ชุดการทดลองที่ 3 ให้ลูกปลากินโรติเฟอร์ ชุดการทดลองที่ 4 ให้ลูกปลากินหนอนจิ๋วและชุดการทดลองที่ 5 ให้ลูกปลากินลูกไรแดงกรอง ลูกปลาทดลองมีน้ําหนักเริ่มต้นเฉลี่ย 0.0014?0.0003มิลลิกรัม และความยาวเริ่มต้นเฉลี่ย 6.76?0.44 มิลลิเมตร ตามลําดับ อนุบาลลูกปลาในรางน้ําขนาด20?30?16 นิ้ว เติมน้ําให้ได้ปริมาตรน้ํา 50 ลิตร อัตราความหนาแน่น 5 ตัวต่อลิตร ดําเนินการทดลองระหว่างวันที่ 2 – 11 กันยายน 2555 พบว่า ชุดการทดลองที่ 1, 2, 3, 4 และ 5 มีน้ําหนักสุดท้ายเฉลี่ยเท่ากับ0.0103?0.0023, 0.0154?0.0005, 0.0085?0.0007, 0.0148?0.0024 และ 0.0088?0.0012 มิลลิกรัมตามลําดับ ความยาวสุดท้ายเฉลี่ยเท่ากับ 10.48?0.91, 12.57?0.35, 10.09?0.31, 12.16?0.30 และ10.23?0.26 มิลลิเมตร ตามลําดับ และมีอัตรารอดตายเฉลี่ยเท่ากับ 11.20?1.82, 2.2?0.52, 43.10?6.42,4.90?0.89 และ 22.80?8.37 เปอร์เซ็นต์ ตามลําดับ โดยการเจริญเติบโตด้านน้ําหนัก ความยาว ของลูกปลาดุกด้านชุดการทดลองที่ 1, 3 และ 5 ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (p>0.05) แต่น้อยกว่าชุดการทดลองที่ 2 และ 4 อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (p0.05) สําหรับอัตรารอดตายเฉลี่ยพบว่าชุดการทดลองที่ 2มีอัตรารอดตายต่ําที่สุด และแตกต่างจากชุดการทดลองที่ 1, 3 และ 5 อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (p0.05) สําหรับอัตรารอดตายเฉลี่ยของลูกปลาดุกด้านชุดการทดลองที่ 3มีอัตรารอดตายสูงกว่าชุดการทดลองที่ 1 อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (p>0.05) แต่ไม่แตกต่างกับชุดการทดลองที่ 2 อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05) จากผลการทดลองครั้งนี้ เมื่อพิจารณาจากอัตราการเจริญเติบโตและอัตรารอดตาย สรุปได้ว่าวิธีการให้อาหารที่เหมาะสมในการอนุบาลลูกปลาดุกด้าน คือ ให้ลูกปลากินโรติเฟอร์ในระยะแรก 8 วัน จากนั้นให้ไรแดง 8 วัน แล้วจึงให้อาหารเม็ดสําเร็จรูปวัยอ่อน 8 วัน
บทคัดย่อ (EN): Suitable feed for nursing fry of walking catfish (Clarias batrachus Linneaus, 1785)with different type of feeds and feeding practices in 10 days nursing period from 2 to 11September 2012 and 24 days nursing period from 22 October to 9 November 2012. Theexperiment was conducted at Sisaket Inland Fisheries Research and Development Center.For the first 10 days nursing period, the experiment was designed into 5 treatments,Fry were fed with unfiltered water flea, semi – cooked white egg, rotifer, microworms( Panagrellus sp. ) and filtered water flea in treatment 1, 2, 3, 4 and 5, respectively. Fry withinitial size of 0.0014?0.0003 mg and 6.76?0.44 mm had been stocked at 5 individuals/L in 50L troughs during 2 - 11 September 2012. The results showed that the average final bodyweight, the average final body length and the survival rates of treatment 1, 2, 3, 4 and 5were 0.0103?0.0023, 0.0154?0.0005, 0.0085?0.0007, 0.0148?0.0024 and 0.0088?0.0012 mg,10.48?0.91, 12.57?0.35, 10.09?0.31, 12.16?0.30 and 10.23?0.26 mm and 11.20?1.82,2.2?0.52, 43.10?6.42, 4.90?0.89 and 22.80?8.37 % respectively. There were no significantdifferences in term of average final weight, and average final length among treatment 1, 3and 5 (p>0.05) but those were significantly lower than those of treatment 2 and 4 (p0.05), while treatment 3 had a significantly higher survival rate among all treatments. Theaverage mouth size of fry at the age 3 days were 0.23?0.00 mm In conclusion, the suitablefeed for nursing fry of walking catfish during first 10 days was rotifer when survival rate isconsidered.For the 24 days nursing period, the experiment was designed by feeding fry with 3different feeding practices including, 1) fed with rotifer for 8 days, followed by water flea for4 days and followed by pellet for 12 days, 2) fed with rotifer for 8 days, followed by waterflea for 6 days and followed by pellet for 10 days, 3) fed with rotifer for 8 days, followed bywater flea for 8 days and followed by pellet for 8 days. Fry with initial size of 0.0014?0.0003 61mg and 6.67?0.50 mm were stocked at 5 fry/L in 10 L glass jars containing 5 L of water for 24days. The results showed that the average final body weight, average final body length andsurvival rates of treatment 1, 2 and 3 were 0.0908?0.0113, 0.1041?0.0139 and 0.1460?0.0271mg, 22.91?1.29, 24.11?0.86 and 27.32?0.72 mm, and 34.00?2.83, 37.00?2.58 and 42.00?5.89%, respectively. In term of average final weight and length, treatment 3 had a significantlyhigher average final weight and length than those of treatment 1 and 2 (p0.05). From the study it can beconcluded that the suitable feeding practice for the 24 days nursing period of walking catfishfry is 8 days rotifer, 8 days of water flea and 8 days of pellet when growth rate and survivalrate are considered.
ชื่อแหล่งทุน: เงินงบประมาณแผ่นดิน
จำนวนเงินตามสัญญารับงานวิจัย: 67,900.00
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2554-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2555-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
พื้นที่ดำเนินการ: ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงน้ําจืดศรีสะเกษ
ปีที่ได้รับงบประมาณ (ระบุได้มากกว่า 1 ปี): 2555
ประเภทชิ้นงาน: การวิจัยประยุกต์
เผยแพร่โดย: กรมประมง
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ชนิดอาหารที่เหมาะสมในการอนุบาลลูกปลาดุกด้าน
กรมประมง
30 กันยายน 2555
กรมประมง
อาหารที่เหมาะสมในการอนุบาลลูกปลาจาด การอนุบาลปลาดุกอุยในกระชัง การอนุบาลลูกปลากดแก้วในกระชังด้วยอาหารต่างชนิด อัตราการให้อาหารที่เหมาะสมในการอนุบาลลูกปลากดแก้วในกระชัง การอนุบาลลูกปลาซิวควายพม่า การเพาะและอนุบาลปลาดุกเนื้อเลน การอนุบาลปลานวลจันทร์น้ำจืดด้วยอาหารต่างชนิดกัน ชนิดของคาร์โบไฮเดรตที่เหมาะสมในอาหารปลาหมอ รูปแบบที่เหมาะสมในการอนุบาลลูกปลาหลดด้วยอาหารสำเร็จรูปเพื่อทดแทนไรแดง การอนุบาลกั้งกระดาน(Thenus orientalis Lund, 1793) วัยอ่อนด้วยอาหารต่างๆกัน

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก