สืบค้นงานวิจัย
สัณฐานวิทยาโครโมโซมของข้าวเหนียวดำ
สุณิสา สุนะรินทร์ - มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ชื่อเรื่อง: สัณฐานวิทยาโครโมโซมของข้าวเหนียวดำ
ชื่อเรื่อง (EN): Karyotype of Purple Rice Chromosome
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: สุณิสา สุนะรินทร์
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Sunisa Sunarin
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย (EN):
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: จากการวิเคราะห์สัณฐานวิทยาของโครโมโซมข้าว 5 พันธุ์โดยแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือกลุ่ม”ข้าวขาว” (เหนียวสันป่าตองและหอมมะลิ 105) กับกลุ่ม “ข้าวเหนียวดำ” (ก่ำดอยสะเก็ด, CMU col.2 และ CMU col.3) พบว่าทั้ง 5 พันธุ์มีจำนวนโครโมโซมเท่ากันคือ 2n=24 แต่มีขนาดและชนิดของโครโมโซมเป็นลักษณะเฉพาะแตกต่างกันไปในแต่ละพันธุ์ โดยกลุ่ม “ข้าวเหนียวดำ” มีขนาดของโครโมโซมใหญ่กว่ากลุ่ม “ข้าวขาว” สัณฐานวิทยาของโครโมโซมที่พบโดยทั่วไปมีรูปร่างเป็น metacentric และ submetacentric ส่วนโครโมโซมที่มีสัณฐานวิทยาเป็นแบบ subtelocentric พบในข้าวหอมมะลิ 105 เท่านั้น แสดงว่าข้าวหอมมะลิ 105 มีความเป็น “ข้าวพันธุ์ปลูก” มากกว่าพันธุ์อื่น ๆที่ยังคงมีสัณฐานวิทยาของโครโมโซมเป็น”พันธุ์ป่า” อยู่นอกจากนี้ไม่พบโครโมโซมที่มีลักษณะเป็น telocentric ในพันธุ์ข้าวที่วิเคราะห์ เมื่อพิจารณาคาริโอไทป์ของแต่ละคู่โครโมโซมพบว่าข้าวกลุ่ม “ข้าวเหนียวดำ” ไม่มีความสม่ำเสมอในลักษณะสัณฐานวิทยาของคู่โครโมโซมเช่นที่แสดงในกลุ่ม“ ข้าวขาว” SAT-chromosome สามารถพบได้ในข้าวหอมมะลิ 105 และ CMU col.2
บทคัดย่อ (EN): Chromosome karyotypes investigated in five rice varieties grouped as "white rice" (Sanpatong and Mali 105) and "purple rice" (Doisaket, CMU col.2 and CMU col.3) shows an equal chromosome number of 2n=24. Chromosome size and characteristic were specific and varied among the varieties. The "purple rice" obtained larger size of chromosomes than those of the "white rice". Metacentric and submetacentric chromosomes represent general morphological characteristics. Only Mali 105's chromosomes could be classified as subtelocentric, indicating that the variety is typically more cultivated than the others which still rather be the ''wild type". Telocentric chromosome could not be detected in the investigated varieties. The "purple rice" group shows less consistent karyotype characteristics than the "white rice" group. SAT - chromosome was found in Mali 105 and CMU col.2.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2542
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2543
เอกสารแนบ: https://li01.tci-thaijo.org/index.php/joacmu/article/view/247171/169085
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
สัณฐานวิทยาโครโมโซมของข้าวเหนียวดำ
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2543
เอกสารแนบ 1
เอกสารแนบ 2
สัณฐานวิทยาและจำนวนโครโมโซมลางสาดพื้นเมืองลับแล จำนวนโครโมโซมของงาที่ผ่านการฉายรังสีด้วยวิธีการเพิ่มชุดโครโมโซมโดยใช้โคลชิซิน ลักษณะทางการเกษตรและปริมาณแอนโทไซยานินในประชากรลูกผสมกลับ (BC2F2) ของข้าวเหนียวดำ ผลของกระบวนการสกัดและการให้ความร้อนต่อปริมาณสารต้านอนุมูลอิสระในการผลิตแอนโทซัยยานินชนิดผงจากข้าวเหนียวดำ การศึกษาโครโมโซมกล้วยพันธุ์พื้นบ้านของภาคเหนือ พันธุกรรมของการสังเคราะห์สารแอนโธไซยานินในข้าวเหนียวดำ (Oryza sativa L. indica) ผลของข้าวกล้องข้าวเหนียวดำเพาะงอกต่อการป้องกันการเรียนรู้และความจำบกพร่องที่ถูกเหนี่ยวนำด้วยสารอะไมลอยด์ เบต้า 25-35 เปปไทด์ในหนูแรทเพศผู้ โดย น.ส.เกวลิน ประมูลศิลป์ ลักษณะปากใบของจำนวนชุดโครโมโซมที่แตกต่างกันในกล้วยไม้หวายลูกผสมบางชนิด สัณฐานวิทยาของเอื้องดิน ลักษณะทางสัณฐานวิทยาที่บ่งชี้ถึงประสิทธิภาพการดูดใช้ฟอสฟอรัสของข้าวที่ปลูกในสภาพที่มีฟอสฟอรัสต่างรูปกัน

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก