สืบค้นงานวิจัย
การเลี้ยงปูม้า Portunus peragicus (Linnaeus , 1758) ในบ่อดินโดยให้ที่หลบซ่อนต่างกัน
กอบศักดิ์ เกตุเหมือน - กรมประมง
ชื่อเรื่อง: การเลี้ยงปูม้า Portunus peragicus (Linnaeus , 1758) ในบ่อดินโดยให้ที่หลบซ่อนต่างกัน
ชื่อเรื่อง (EN): Rearing of Blue Swimming Crab Portunus pelagicus (Linnaeus, 1758) in Earthen Ponds by Providing Different Types of Shelters
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: กอบศักดิ์ เกตุเหมือน
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Kobsak Kedmuean
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย: วิลาสินี คงเล่ง
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย (EN): Wilasinee Kongleng
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: การทดลองเลี้ยงปูม้าในบ่อดินขนาดพื้นที่ 1,600 ตารางเมตร ที่ความหนาแน่น 3 ตัวต่อตารางเมตร โดยใช้ที่หลบซ่อนต่างกัน แบ่งเป็น 3 ชุดการทดลองๆ ละ 3 บ่อ การทดลองที่ 1 (T1) ไม่ใส่ที่หลบซ่อน ชุดการทดลองที่ 2 (T2) ใส่ท่อพีวีซีเป็นที่หลบซ่อน และชุดการทดลองที่ 3 (T3) ใช้กะละมังใส่ทรายเป็นที่หลบซ่อน ปล่อยปูระยะ Crab 2 ขนาดความกว้างกระดองเฉลี่ย0.75+0.12 เชนติเมตร น้ำหนักเฉลี่ย 0.02+0.01 กรัม ระยะเวลาการเลี้ยง 120 วัน เมื่อสิ้นสุดการทดลองปูม้าในชุดการทดลองT1, 2 และ T3 มีความกว้างกระดองและน้ำหนักเฉลี่ยเท่ากับ 9.81+0.13 เซนติเมตร และ 67.47+0.98 กรัม 9.650.14เซนติเมตร และ 64.65+3.30 กรัม และ 9.28t0.11 เซนติเมตร และ 56.6 1+2.75 กรัม ตามลำตับ โดย T3 มีความกว้างกระดองและน้ำหนักเฉลี่ยของปูม้าน้อยกว่า T1 และ T2 อย่างมีนัยสำคัญ (P0.05) อัตราการรอดตายเฉลี่ยของปูม้า T1, 12 และ T3 เท่ากับ 16.40+0.98, 19.37+1.48 และ 27.87+1.51 เปอร์เซ็นต์ตามลำตับ ปูม้า T3 มีอัตราการอดตายสูงกว่า T1 และ T2 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P0.05) ผลผลิตเฉลี่ยของปู่ม้า T1, T2 และ T3 เท่ากับ 55.17 3.63, 62.57+5.47และ 78.77+1.63 กิโลกรัมตามลำตับ พบว่า T3 มีผลผลิตสูงกว่า T1 และ T2 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P0.05) ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าการเพิ่มที่หลบซ่อน โดยใช้กะละมังใส่ทราย มีผลให้ปูม้ามีอัตราการรอดตายมากขึ้น
บทคัดย่อ (EN): The experiment on using different types of shelters rearing of blue swimming crab Portunus pelagicus (Linnaeus, 1758) conducted in earthen ponds of 1,600 m was comprised of 3 treatments, each with 3 replicates. The differences of 3 kinds of shelters were used as treatments, no shelter (T1), PVC pipe (T2), and plastic bowlfilled with fine sand (T3), respectively. The average of internal carapace width and weight of young crab stage stocked in the pond with the density of 3 individuals/ m was 0.75t0.12 cm and 0.02t0.01 g. After 120 days of culture periods, the average of internal carapace width and weight of crab of T1 (9.81+0.13 cm and 67.47+0.98 g) and T2 (9.65+0.14 cm and 64.65+3.30 g) was significantly greater (p <0.05) than that of T3(9.28 + 0.11 cm and 56.61 t 2.75 g). However, the average of survival rate and production of crab of T3(27.87+1.51%, 78.77+1.63 kg) was significantly greater (p <0.05) than that of T1 (16.40+0.98%, 55.17+3.63 kg)and T2 (19.37+1.48%, 62.57+5.47 kg).The results of this study indicated that the plastic bowl filled with fine sand as shelter was applicable for increasing the survival rate of swimming crab cultivated in earthen pond.
ชื่อแหล่งทุน: เงินงบประมาณแผ่นดิน
จำนวนเงินตามสัญญารับงานวิจัย: 100,000.00
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2550-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2552-03-31
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
พื้นที่ดำเนินการ: จ.สงขลา
ปีที่ได้รับงบประมาณ (ระบุได้มากกว่า 1 ปี): 2551
ประเภทชิ้นงาน: การวิจัยพื้นฐาน
เผยแพร่โดย: กรมประมง
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การเลี้ยงปูม้า Portunus peragicus (Linnaeus , 1758) ในบ่อดินโดยให้ที่หลบซ่อนต่างกัน
กรมประมง
31 มีนาคม 2552
กรมประมง
การเพาะเลี้ยงปูม้าในบ่อดินแบบครบวงจร ผลของพื้นที่หลบซ่อนต่ออัตราการรอดตาย อัตราการเจริญเติบโต การเปลี่ยนอาหารเป็นเนื้อ และต้นทุนการผลิตในการเลี้ยงปูม้า (Portunus pelagicus Linnaeus, 1758)ในบ่อดิน ผลของวิตามินซีต่อการเจริญเติบโต อัตรารอดตายและการลอกคราบของปูม้า (Portunus pelagicus, Linnaeus 1758) ผลของการเสริม Schizochytrium limacinum(D.Honda & Yokochi, 1998) 4 ระดับ ในการอนุบาลลูกปูม้า (Portunus pelagicus Linnaeus, 1758) การอนุบาลลูกปูม้า (Portunus pelagicus Linnaeus, 1758) โดยการเสริมจุลินทรีย์ ปม.1 ความต้องการการส่งเสริมการเลี้ยงปลานิลในบ่อดินของเกษตรกรในจังหวัดลำปาง ความหลากหลายทางชีวภาพของปูบริเวณหมู่เกาะมัน จังหวัดระยอง ระดับพลังงานที่เหมาะสมในอาหารต่อการเจริญเติบโตของลูกปูม้า (Portunus pelagicus Linnaeus, 1758) ความหนาแน่นที่เหมาะสมในการเลี้ยงปลาชะโอนในบ่อดิน การศึกษาวัสดุคลุมดินที่มีอิทธิพลต่อการเจริญเติบโตแบบอาศัยเพศ และไม่อาศัยเพศของสตรอเบอรี 2 สายพันธุ์

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก