สืบค้นงานวิจัย
ประเมินสภาวะทรัพยากรปลาสีกุนตาโต Selar crumenopthalmus (Bloch, 1793) ทางฝั่งทะเลอันดามันของไทย
สนธยา บุญสุข, มนตรี สุมณฑา, พรอนันต์ คีรีรัตน์ - กรมประมง
ชื่อเรื่อง: ประเมินสภาวะทรัพยากรปลาสีกุนตาโต Selar crumenopthalmus (Bloch, 1793) ทางฝั่งทะเลอันดามันของไทย
ชื่อเรื่อง (EN): Stock Assessment of Bigeye scad, Selar crumenopthalmus (Bloch, 1793) Along the Andaman Sea Coast of Thailand
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: การประเมินสภาวะทรัพยากรปลาสีกุนตาโต (Selar crumenophthalmus) ทางฝ??งทะเลอันดามัน ใน พื้นที่จังหวัดระนอง พังงา ภูเก็ตกระบี่ตรังและสตูลโดยเก็บรวบรวมข?อมูลการประมงจากเครื่องมืออวนล?อมจับ 6 ประเภท คืออวนตังเกอวนล?อมซั้งอวนเขียวอวนล?อมจับป??นไฟ อวนดําและอวนล?อมจับขนาดตาอวน 1.5 เซนติเมตร พบว?า เครื่องมืออวนตังเก อวนล?อมซั้ง อวนล?อมจับป??นไฟ และอวนดํา ที่มีผลกระทบต?อ ปลาสีกุนตาโต มีอัตราการจับเฉลี่ยของปลาสีกุนตาโตเท?ากับ 6.63 90.26 124.60 และ 12.66 กก./วัน ตามลําดับ คิดเป?นร?อยละ 0.72 2.52 4.48 และ 0.33 ขององค?ประกอบสัตว?น้ําทั้งหมดตามลําดับ ปลาสีกุนตาโตที่ถูกจับมา ใช?ประโยชน?มีความยาวเหยียดระหว?าง 5.00-29.50 เซนติเมตร มีค?าเฉลี่ยเท?ากับ 16.59 เซนติเมตรและมีสมการ เติบโตของvon Bertalanffy เท?ากับ L ) t -1.1157(t- (-0.0052)) = 29.51 (1-e มีค?าสัมประสิทธิ์การตายรวม (Z) เท?ากับ 5.3495 ต?อป?ค?าสัมประสิทธิ์การตายโดยธรรมชาติ (M) เท?ากับ 1.5751 ต?อป?และค?าสัมประสิทธิ์การตายจากการ ประมง (F) เท?ากับ 3.3806 ต?อป?ขนาดความยาว 5.00 เซนติเมตรเป?นขนาดความยาวแรกที่เริ่มเข?าสู?ข?ายการประมง มีจํานวน 179 ล?านตัว ระดับผลผลิตสูงสุดที่ยั่งยืน (MSY) เท?ากับ 3,517.48 ตัน ที่ระดับการลงแรงประมง (F-factor) เท?ากับ 0.7 และมีมูลค?าสูงสุดที่ยั่งยืน (MEY) เท?ากับ 114.73 ล?านบาท ที่ระดับการลงแรงประมงเท?ากับ 0.4 โดยป?จจุบันปริมาณการจับและมูลค?าของปลาสีกุนตาโตมีค?าเท?ากับ 3,383.92 ตัน และ 75.04 ล?านบาท ซึ่งมี ระดับการลงแรงประมงเกินศักย?การผลิตสูงสุดร?อยละ 30 และมีการลงแรงประมงเกินจุดมูลค?าสูงสุดที่ยั่งยืน ร?อยละ 60
บทคัดย่อ (EN): The stock assessment of the bigeye scad (Selar crumenophthalmus) along the Andaman Sea Coast; Ranong, PhangNga, Phuket, Krabi, Trang and Satun Provinces was conducted by collecting data from six types of purse seine comprising Chinese purse seine (CPS), fish aggregating device purse seine (FPS), green purse seine (GPS), light luring purse seine (LPS), Thai purse seine (TPS) and the purse seine with the mesh size of 1.5 centimeters (TPS 1.5). Only CPS, FPS, LPS and TPS have impacted to the bigeye scad. The catches of the bigeye scad per unit of effort were 6.63, 90.26, 124.60 and 12.66 kg/day, respectively. Catch compositions of Indian mackerel were 0.72%, 2.52%, 4.48% and 0.33% of the total catch by gear, respectively. The total length of bigeye scad were in range from 5.00-29.50 cm with the average total length as 16.59 cm. The von Bertalanffy growth equation of bigeye scad was L ) t -1.1157(t- (-0.0052)) = 29.51 (1-e . The total mortality coefficient (Z) was 5.3495 per year, the natural mortality coefficient (M) was 1.5751 per year and the fishing mortality coefficient (F) was 3.3806 per year. The first group of bigeye scad caught by purse seine fishery were in the size 5.00 cm with the number of 179 million fish. The maximum sustainable yield (MSY) was 3,517.48 tonnes at the F-factor of 0.7 and the maximum sustainable economics yield (MEY) was 114.73 million baht at the F-factor of 0.4. In 2007, the catch and value of the bigeye scad were 3,383.83 tonnes and 75.05 million baht which over 30 percent of the MSY and over 60 percent of the MEY.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2549-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2551-12-31
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: กรมประมง
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ประเมินสภาวะทรัพยากรปลาสีกุนตาโต Selar crumenopthalmus (Bloch, 1793) ทางฝั่งทะเลอันดามันของไทย
กรมประมง
31 ธันวาคม 2551
กรมประมง
การประเมินสภาวะทรัพยากรกุ้งโอคักทางฝั่งทะเลอันดามันของประเทศไทย การประเมินสภาวะทรัพยากรปลาลัง (Rastrelliger kanagurta (Cuvier, 1816)) ทางฝั่งทะเลอันดามันของประเทศไทย การประเมินสภาวะทรัพยากรกั้งกระดาน (Thenus unimaculatus Burton and Davie, 2007) ทางฝั่งทะเลอันดามันของประเทศไทย การประเมินสภาวะทรัพยากรปลาตาหวานจุด (Priacanthus tayenus Richardson, 1846) ทางฝั่งทะเลอันดามันของไทย ชีววิทยาการสืบพันธุ์ของปลาสีกุนตาโต (Selar crumenophthalmus (Bloch, 1793)) ทางฝั่งทะเลอันดามันของประเทศไทย การประเมินสภาวะทรัพยากรปลาทูแขกครีบยาว Decapterus maruadsi (Temminck & Schlegel, 1843) ทางฝั่งทะเลอันดามันของประเทศไทย ชีววิทยาการสืบพันธุ์ของปลาสีกุนตาโต (Selar crumenopthalmus Bloch, 1793)) ในอ่าวไทย การประเมินสภาวะทรัพยากรปลากะตักในอ่าวไทย ประเมินสภาวะทรัพยากรปลาสีกุนตาโต Selar cumenohpthalmus ในอ่าวไทย ประเมินสภาวะทรัพยากรปลาข้างเหลือง Selaroides leptolepis (Cuvier, 1833)ทางฝั่งทะเลอันดามันของไทย

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก