สืบค้นงานวิจัย
ผลของสารสกัดไพลมาตรฐานต่อการต้านการอักเสบและยับยั้งการหดตัวของหลอดลมหนูที่ถูกกระตุ้นด้วยฮิสตะมีน
สีวบูรณ์ สีรีรัฐวงศ - กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
ชื่อเรื่อง: ผลของสารสกัดไพลมาตรฐานต่อการต้านการอักเสบและยับยั้งการหดตัวของหลอดลมหนูที่ถูกกระตุ้นด้วยฮิสตะมีน
ชื่อเรื่อง (EN): Anti-inflammatory and inhibitory effects of Standardizes Phlai Extract on histamine-induced contraction in the rat trachea
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: สีวบูรณ์ สีรีรัฐวงศ
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: ไพลเป็นพืชสมุนไพรที่นามาใช้ในการรักษาโรคที่เกี่ยวข้องกับการอักเสบในตำรายาโบราณ วิธีการวิจัย: ทำการทดสอบผลของการทำยาเตรียมไพลต่อการอักเสบของหูหนูขาวที่ถูกกระตุ้นด้วย ethyl phenylpropiolate (EPP)-induced หรือ arachidonic acid (AA) รวมทั้งผลของการกินยาเตรียมไพลต่อการอักเสบด้วยการฉีด carrageenan ที่อุ้งเท้าหนูขาว และการก่อให้เกิดการอักเสบเรื้อรังในแบบจำลองการเกิด granuloma ด้วยการใส่ก้อนสาลีในช่องท้องหนู นอกจากนั้นยังได้ทาการศึกษาผลของยาเตรียมไพลในการต้านผลการหดเกร็งของหลอดลมอันเนื่องจากการกระตุ้นด้วยฮิสตะมีนในหนูตะเภาทั้งในแบบนอกกายและในกาย ผลการวิจัย: ยาเตรียมไพลขนาด 4 มก/.ใบหูสามารถลดการอักเสบที่เกิดจาก EPP หรือ AA ได้ และมีผล ยับยังการอักเสบอุ้งเท้าจากการกระตุ้นด้วย carrageen เมื่อหนูกินยาเตรียมไพล 150 300 600 มก./กก.น้าหนักตัวหนู อย่างไรก็ตามพบว่ายาเตรียมไพลที่ความเข้มข้น 300 มก./กก.น้าหนักตัวหนูไม่มีผลต้านการอักเสบเรื้อรังในแบบจาลอง granuloma ยาเตรียมไพลขนาด 0.1-1 มก./มล.มีผลยับยั้งการหดตัวของหลอดลม หนูตะเภานอกกาย ในขณะที่สารดังกล่าวที่ความเข้มข้น 10-120 มก./กก.ให้ผลลดการหดเกร็งของหลอดลมในหนูที่ถูกกระตุ้นด้วยฮิสตะมีน บทสรุป: การวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่ายาเตรียมไพลมีคุณสมบัติยับยั้งการอักเสบและต้านการหดเกร็งของหลอดลมหนูที่กระตุ้นด้วยฮิสตะมีน แต่ฤทธิ์ในการต้านการอักเสบชนิดเฉียบพลันจะมีมากกว่าการอักเสบเรื้อรัง
บทคัดย่อ (EN): Background and aim: Zingiber cassumunar (Phlai) has been used for anti- inflammatory relief in traditional medicine. However little is known about its underlined mechanism of anti-inflammation. In the present study, we investigated the anti-inflammatory and smooth muscle relaxant activity of the Phlai Extract Granules (PEG). Materials and methods: PEG was evaluated for its anti- inflammatory activity in rats using ethyl phenylpropiolate (EPP)-induced and arachidonic acid (AA)-induced ear edema, carrageenan-induced paw edema as well as cotton pellet-induced granuloma models. Effects of the extract on contractile responses in the histamine-stimulated isolated guinea pig trachea was also investigated. Bronchodilating action of PEG was also investigated by intravenous administration to anesthetized animals and bronchoconstriction was induced by histamine. Results: PEG at 4 mg/ear exhibited anti-inflammatory effect on EPP or AA-induced ear edema. Oral administration of PEG at the doses of 150, 300 and 600 mg/kg caused dose-dependent inhibition of carrageenan- induced rat paw edema. However, PEG at 300 mg/kg did not reduce transudative and proliferative phases; body weight gain and thymus weight in cotton pellet-induced granuloma formation. PEG at 0.1-1 mg/ml inhibited histamine-induced tracheal contraction in vitro. PEG at 10-120 mg/kg of body weight also suppressed the bronchoconstriction action of histamine in pentobarbital anesthetized guinea pigs. Conclusions: Our results suggest that PGE has anti-inflammatory and brochodilating properties. However, its inhibitory effect on acute inflammation is relatively obvious compared to that of chronic inflammation.
ชื่อแหล่งทุน: กองทุนภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
วิธีการจ้างทำงานวิจัย: ได้รับทุนวิจัย
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: ม.ป.ป.
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: ม.ป.ป.
เอกสารแนบ: http://ttdkl.dtam.moph.go.th/Module7/frmc_home_research_show.aspx?r_id=NDY1
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: กองทุนภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ผลของสารสกัดไพลมาตรฐานต่อการต้านการอักเสบและยับยั้งการหดตัวของหลอดลมหนูที่ถูกกระตุ้นด้วยฮิสตะมีน
กองทุนภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
ไม่ระบุวันที่เผยแพร่
เอกสารแนบ 1
เอกสารแนบ 2
ผลของการได้รับสารสกัดไพลมาตรฐานต่อเภสัชจลนศาสตร์ของ compound D ในมนุษย์และการกระจายตัวของสาร D ในหนูทดลอง การพัฒนาแผ่นแปะแก้ปวดจากสารสกัดไพลและสารเมือกจากเมล็ดแมงลัก การวิจัยวิธีการเขตกรรมเพื่อพัฒนาผลผลิตและคุณภาพของไพล การพัฒนาแผ่นแปะแก้ปวดจากสารสกัดไพลและสารเมือกจากเมล็ดแมงลัก การตรวจสอบฤทธิ์กลายพันธุ์และต้านการกลายพันธุ์ของสารสกัดยาแผนโบราณไทย ผลของยาไพลในการยับยั้งปฏิกิริยารอยนูนแดงของสารฮิสตะมีนและสารก่อภูมิแพ้ที่ผิวหนังของผู้ป่วยโพรงจมูกอักเสบภูมิแพ้ การเตรียมสารสำคัญจากไพลและการทดสอบคุณสมบัติต้านการอักเสบนอกกาย การศึกษาฤทธิ์ของสารสกัดหยาบจากงวงตาลตัวผู้ต่อการต้านเชื้อจุลชีพก่อโรคในคน การต้านอนุมูลอิสระ ฤทธิ์ต้านภาวะโรคไตเรื้อรัง และฤทธิ์ต้านมะเร็ง เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรไทยสู่มาตรฐานสากล การทดสอบฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของสารสกัดจากการเพาะเลี้ยงจมูกข้าว ความเป็นพิษเฉียบพลันและพิษเรื้อรังของสารสกัดไพลในหนู

แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก