สืบค้นงานวิจัย
การศึกษาลักษณะอาการของโรคแกรสเซอรี่กับหนอนไหม วัยต่างๆ
ธงชัย สิทธิสงคราม - กรมหม่อนไหม
ชื่อเรื่อง: การศึกษาลักษณะอาการของโรคแกรสเซอรี่กับหนอนไหม วัยต่างๆ
ชื่อเรื่อง (EN): "Study on Symptom of Grasserie Disease in Various Stage of Silkworm"
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: ธงชัย สิทธิสงคราม
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย: สุมณี รักสังข์
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: จากการนำเชื้อที่เป็นสาเหตุของโรคแกรสเซอรี่หรือเต้อ ทาบนใบหม่อน นำไปให้หนอนไหมพันธุ์ K1.K13xK8 วัยต่างๆ กิน 6-8 ชั่วโมง วัย 1-3 ใช้ความเข้มข้น 5.1x105 มม.3 วัย 4 และ 5 ใช้ความเข้มข้น 3.2x105 มม.3 ปรากฏว่าหนอนไหมวัย 1-3 จะแสดงอาการให้เห็นใน 2-4 วัน...
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2527
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2528
เอกสารแนบ: https://qsds.go.th/newosrd/wp-content/uploads/sites/115/2021/08/2528-51.pdf
เผยแพร่โดย: กรมหม่อนไหม
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การศึกษาลักษณะอาการของโรคแกรสเซอรี่กับหนอนไหม วัยต่างๆ
กรมหม่อนไหม
2528
เอกสารแนบ 1
เอกสารแนบ 2
กรมหม่อนไหม
การใช้ dsRNA เพื่อยับยั้งการเกิดโรคแกรสเซอรี่ในหนอนไหม(Bombyx mori) โดยเทคนิค RNA interference การศึกษาหาความเข้มข้นของเชื้อโรคแกสเซอรี่ที่ทำให้หนอนไหมตาย 50 เปอร์เซนต์ กับหนอนไหมวัยต่างๆ การศึกษาปฏิกิริยาของหม่อนไหมวัยต่างๆ ต่อโรคแอสเปอร์จิลลัส โครงการวิจัยการปรับปรุงพันธุ์ไหมที่ต้านทานโรคแกรสเซอรี่ และพัฒนาเทคโนโลยี การป้องกันโรคแกรสเซอรี่ในภาคเกษตรกร การศึกษาหาความเข้มข้นของเชื้อแอสเปอร์จิลลัสที่ทำให้หนอนไหมตาย 50 เปอร์เซนต์ กับหนอนไหมวัยต่างๆ การศึกษาสารเคมีที่ทำให้ผลึกวิสาที่เป็นสาเหตุของโรค แกรสเซอรี่แตกตัว การศึกษาลักษณะประจำพันธุ์ของไหมพันธุ์ใหม่ A10 และ A11 การศึกษาการป้องกันกำจัดแมลงวันศัตรูไหมเพื่อสร้างศักยภาพการเลี้ยงไหมในชุมชน อำเภอนิคมคำสร้อย จังหวัดมุกดาหาร การหาจำนวนครั้งที่เหมาะสมที่จะให้ใบหม่อนกับหนอนไหมวัยแก่ในแต่ละวัย การทดลองเลี้ยงไหมด้วยใบหม่อนพันธุ์ต่างๆ
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก